1 / 5

(ร่าง) แนวคิดในการจัดทำแผนกลยุทธ์ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ( 3 ก.ย. 57)

(ร่าง) แนวคิดในการจัดทำแผนกลยุทธ์ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ( 3 ก.ย. 57). กลยุทธ์ในการดำเนินงาน (TIPA). 1.Target Setting :. กำหนดเป้าหมาย และแนวทางการดำเนินงานให้เป็นที่รับรู้ทั่วกัน. สร้างนวัตกรรมเพื่ออำนวยความสะดวก ในการนำ QA ไปประยุกต์ใช้ได้โดยง่าย. 2.Innovate QA Tools :.

Download Presentation

(ร่าง) แนวคิดในการจัดทำแผนกลยุทธ์ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ( 3 ก.ย. 57)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. (ร่าง) แนวคิดในการจัดทำแผนกลยุทธ์ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา (3ก.ย. 57) กลยุทธ์ในการดำเนินงาน (TIPA) 1.Target Setting : กำหนดเป้าหมาย และแนวทางการดำเนินงานให้เป็นที่รับรู้ทั่วกัน สร้างนวัตกรรมเพื่ออำนวยความสะดวก ในการนำ QA ไปประยุกต์ใช้ได้โดยง่าย 2.Innovate QA Tools : 3.Personal Mastery : สร้างคนให้มีความรู้ และศรัทธา ในการประยุกต์ใช้ QA 4.Appreciate Success and Failure : ติดตามสร้างขวัญกำลังใจ ให้กับคนทำงาน ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI) จนเป็นองค์กรที่มีวัฒนธรรมคุณภาพ

  2. 1.Target Setting : กำหนดเป้าหมาย และแนวทางการดำเนินงานให้เป็นที่รับรู้ทั่วกัน ตัวบ่งชี้ความสำเร็จตามกลยุทธ์: มีเป้าหมาย และแนวทางการดำเนินงานที่ชัดเจน แนวปฏิบัติ 1.กำหนดเป้าหมายและแนวทางการดำเนินงาน 2. ชี้แจงทำความเข้าใจให้ทราบโดยทั่วกัน

  3. 2.Innovate QA Tools : สร้างนวัตกรรมเพื่ออำนวยความสะดวกในการนำ QA ไปประยุกต์ใช้ได้โดยง่าย ตัวบ่งชี้ความสำเร็จตามกลยุทธ์: มีทั้งเวทีจริง และเวทีเสมือน ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน แนวปฏิบัติ 1. พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (IQA) 2. เตรียมความพร้อมสำหรับรับการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก (EQA) 3. พัฒนาระบบการประเมินผู้บริหารเพื่อติดตามผลการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์ 4. นำกระบวนการ QA2KM มาใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และแก้ไขปรับปรุงการดำเนินงาน 5. พัฒนา UPQA Plus System สนับสนุนการดำเนินงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 6. สนับสนุนให้มีเครือข่าย QA ทั้งในและนอกมหาวิทยาลัย

  4. 3.Personal Mastery : สร้างคนให้มีความรู้ และศรัทธา ในการประยุกต์ใช้ QA ตัวบ่งชี้ความสำเร็จตามกลยุทธ์:มหาวิทยาลัยและคณะมีความพร้อมรับการประเมินทุกรูปแบบ แนวปฏิบัติ 1. อบรม Assessor ให้มีความพร้อมทั้งจำนวนและคุณภาพ 2. พัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบด้าน QA (QA Staff) 3. ส่งเสริม/สนับสนุนให้ Assessor และ QA Staff ให้มีโอกาสได้ร่วมติดตามความก้าวหน้าทางด้าน QA 4. ส่งเสริม/สนับสนุนให้ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนิสิตทุกคนได้มีความรู้และเข้าใจความสำคัญของ QA และถือเป็นหน้าที่ของทุกคนที่จะต้องช่วยกันสร้างวัฒนธรรมคุณภาพ

  5. 4. Appreciate Success and Failure :ติดตามสร้างขวัญกำลังใจ ให้กับคนทำงาน ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI) จนเป็นองค์กรที่มีวัฒนธรรมคุณภาพ ตัวบ่งชี้ความสำเร็จตามกลยุทธ์: มีการประยุกต์ใช้ QA ในการพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง แนวปฏิบัติ 1. ติดตามและประเมินผลเพื่อพัฒนาการดำเนินงานด้าน QA ตลอดเวลา 2. สร้างแรงจูงใจให้เกิดการสร้างวัฒนธรรมคุณภาพร่วมกันอยู่ตลอดเวลา

More Related