340 likes | 477 Views
แนวทางการควบคุมยาสูบในประเทศไทย บทบาทการควบคุมยาสูบของ สำนักงานป้องกันและควบคุมโรคเขต และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด. สถานการณ์ปัญหายาสูบ และแนวทางการแก้ปัญหา. การประชุมซัมมิทผู้นำประเทศ UN เรื่อง “การควบคุมโรคไม่ติดต่อ”. กันยายน 2554 ในปี พ.ศ.2551 ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตปีละ 57 ล้านคน
E N D
แนวทางการควบคุมยาสูบในประเทศไทยแนวทางการควบคุมยาสูบในประเทศไทย บทบาทการควบคุมยาสูบของ สำนักงานป้องกันและควบคุมโรคเขต และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
สถานการณ์ปัญหายาสูบและแนวทางการแก้ปัญหาสถานการณ์ปัญหายาสูบและแนวทางการแก้ปัญหา
การประชุมซัมมิทผู้นำประเทศ UN เรื่อง “การควบคุมโรคไม่ติดต่อ” กันยายน 2554 ในปี พ.ศ.2551 ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตปีละ 57 ล้านคน 35 ล้านคนมาจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 80%จากโรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง โรคปอดเรื้อรัง และเบาหวาน โดย 9 ล้านคนเสียชีวิตก่อนอายุ 60 ปี 3
การเสียชีวิตของคนไทยจากโรคไม่ติดต่อหลัก 4 โรคพ.ศ.2552 คณะทำงานภาระโรคฯ กสธ. 2554 โรคมะเร็ง = 80,711 คน โรคเส้นเลือดสมอง = 50,829 คน โรคเส้นเลือดหัวใจ = 34,384 คน โรคเบาหวาน = 26,380 คน ถุงลมโป่งพอง = 18,660 คน รวม = 210,964 คน เสียชีวิตก่อนอายุ 60 ปี = 56,960 = 27% จำนวนผู้เสียชีวิตจากทุกสาเหตุ = 415,900 คน 4
ปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อหลัก 4 โรค 5
ผลการศึกษาภาระโรคในประเทศไทย 2552 ปัจจัยเสี่ยง * * ที่มา Bundhamcharoen et al, Economic Burden From Smoking Related Diseases in Thailand in 2009 6
เสียชีวิตก่อนอายุ 60 ปี = 15,831 = 31.2% แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาดัชนีประเมินภาระโรคและสุขภาพของประชากรไทย สำนักพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2554 7
ความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ พ.ศ.2553 ค่ารักษาพยาบาล 10,137 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายทางอ้อม 1,063 ล้านบาท การสูญเสียผลิตภาพ 40,981 ล้านบาท รวม = 52,200 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ GDP = 0.5% โครงการศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงกระทรวงสาธารณสุข 8
อัตราการสูบบุหรี่ของประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป แบ่งตามเพศ 9
อนุสัญญาควบคุมยาสูบ องค์การอนามัยโลกFramework Convention on Tobacco Control (FCTC)พ.ศ.2548 ปัจจุบันมี 177 ประเทศเป็นรัฐภาคี มีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตาม ข้อกำหนดของอนุสัญญาฯ [เป็นอนุสัญญาเดียวของโลกที่เกี่ยวกับสุขภาพ] 10
มาตรา 5.3 - การป้องกันการแทรกแซงนโยบายสาธารณะ โดยธุรกิจยาสูบ มาตรา 6 - การควบคุมยาสูบด้วยมาตรการทาง ภาษี และราคา มาตรา 8 - การคุ้มครองจากควันบุหรี่ มาตรา 9-10 - การรายงานแลเปิดเผยส่วนประกอบผลิตภัณฑ์ มาตรา 11 - การเตือนภัยบนซองบุหรี่ มาตรา 12 - การให้สุขศึกษา 11
มาตรา 13 - การห้ามโฆษณา/ส่งเสริมการขาย/ทุนอุปถัมภ์ มาตรา 14 - การช่วยให้เลิกสูบบุหรี่ มาตรา 15 - การควบคมผลิตภัณฑ์ยาสูบผิด กฎหมาย มาตรา 16 - การห้ามขายแก่เด็ก/ห้ามเด็กขาย มาตรา 17 - การปลูกพืชทดแทนยาสูบ มาตรา 19 - การละเมิดของธุรกิจ มาตรา 26 - การสนับสนุนงบประมาณเพื่อควบคุม ยาสูบ 12
จุดอ่อนของการควบคุมยาสูบของประเทศไทยจุดอ่อนของการควบคุมยาสูบของประเทศไทย บังคับใช้กฎหมายควบคุมยาสูบขาดประสิทธิภาพ ระบบการช่วยให้เลิกบุหรี่ขาดประสิทธิภาพ ระบบภาษียาสูบยังมีปัญหา หน่วยงาน/กลไกควบคุมยาสูบระดับพื้นที่อ่อนแอ ไม่สามารถควบคุมการตลาดของบริษัทบุหรี่ได้ดี การระบาดของยาสูบผิดกฎหมาย (บุหรี่ไฟฟ้า บารากู่) การคัดค้านนโยบายสาธารณะโดยบริษัทบุหรี่ 13
ต้องการเลิก แต่ทำไม่ได้ การสำรวจการสูบบุหรี่ระดับโลก 14
ผู้สูบบุหรี่ที่พยายามเลิกในปี พ.ศ.2554 = 4.7 ล้านคน การสำรวจการสูบบุหรี่ระดับโลก พ.ศ.2554 15
คณะรัฐมนตรี เห็นชอบมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ : มาตรการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพด้านยาสูบ วันที่ 17 เมษายน 2555 อนุมัติแผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ 2555-2557 วันที่ 12 มิถุนายน 2555 - ลดอัตราการสูบบุหรี่ลง 10%จากปี 2552 - ควบคุมการบริโภคยาสูบชนิดอื่นไม่ให้เพิ่มขึ้น 16
ความเป็นมาของโครงการจังหวัดปลอดบุหรี่ - สถานการณ์ระบาดวิทยาของการบริโภคยาสูบ และสถานการณ์การดำเนินการและประสิทธิผลในการควบคุมยาสูบ ทำให้ต้องหากลยุทธใหม่ - แนวคิดและทิศทางการควบคุมยาสูบของประเทศ เน้นการใช้พื้นที่เป็น ฐาน โดยใช้โครงการจังหวัดปลอดบุหรี่ - โครงการจังหวัดปลอดบุหรี่ กลยุทธเชิงรุกเพื่อการควบคุมยาสูบแบบ บูรณาการที่มุ่งสู่ความสำเร็จในการควบคุมสถานการณ์ทางระบาดวิทยา
แนวคิดโครงการจังหวัดปลอดบุหรี่แนวคิดโครงการจังหวัดปลอดบุหรี่ ดำเนินการควบคุมยาสูบอย่างเป็นระบบ ครบถ้วนตามมาตรการและยุทธศาสตร์สำคัญของการควบคุมยาสูบอย่างบูรณาการในแต่ละพื้นที่ ตามบริบทเขตเมืองและชนบท เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ใช้ทุนทางสังคมและกระบวนการควบคุมทางสังคมของพื้นที่ ขยายพื้นที่ดำเนินการต่อไปให้เต็มในจังหวัด และเพิ่มจำนวนจังหวัดต่อไปจนทั่วประเทศต่อไป
โครงการจังหวัดปลอดบุหรี่ไม่เป็นโครงการวิจัย แต่เน้นการขับเคลื่อนการดำเนินการควบคุมยาสูบ อย่างจริงจังให้เห็นผล
การควบคุมยาสูบต้องทำให้ครอบคลุมกิจกรรมตามมาตรการหลักของยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบ ที่สำคัญคือ - การป้องกันเยาวชนจากการเป็นนักสูบหน้าใหม่ - ช่วยคนสูบให้เลิกสูบให้ได้ และ - ทำให้ทุกพื้นที่ที่กฏหมายกำหนดปลอดบุหรี่
หลักการควบคุมยาสูบ: ดำเนินการครอบคลุมตามยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบ WHO : MPOWER Strategy 1. Monitoring tobacco control - monitor สถานการณ์ระบาดวิทยาและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งกลยุทธของธุรกิจยาสูบ - monitor สถานการณ์การควบคุมยาสูบ การบริหารจัดการและการดำเนินการ 2.Protect people from tobacco smoke ทำให้ไม่มีการสูบในที่ห้ามสูบตาม กฏหมาย 3. Offer help to quit smoking บริการช่วยผู้สูบให้เลิกสูบ ทุกกลุ่มประชากรผู้สูบ 4. Warning people about harmful effect of tobacco use - การมีภาพคำเตือนบนซองยาสูบ - การสื่อสารทุกรูปแบบเพื่อเตือนประชาชน 5.Enforce ban on advertising, promotion and sponsorship & CSR ทุกรูปแบบ 6.Raise tax on tobacco product
ยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ 8 ยุทธศาสตร์ 1. ป้องกันนักสูบหน้าใหม่ 2. บริการช่วยเลิกสูบ 3.ลดพิษภัยของผลิตภัณฑ์ยาสูบ 4. สร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ 5. เสริมสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาขีดความสามารถในการ ดำเนินการควบคุมยาสูบ 6. ควบคุมยาสูบผิดกฎหมาย 7. มาตรการทางภาษี 8. เฝ้าระวังอุตสาหกรรมยาสูบ
กลุ่มเป้าหมาย - กลุ่มประชากร ประชากรทุกกลุ่มอายุ เน้นเยาวชนและสตรี กลุ่ม แรงงาน - พื้นที่ : - พื้นที่ต้นแบบ/นำร่องระยะสั้นในโครงการ - พื้นที่ทั้งจังหวัดในระยะยาว - ครอบคลุมพื้นที่: - พื้นที่เฉพาะที่ต้องปลอดบุหรี่ตามกฏหมาย - พื้นที่ชุมชนชนบทและเขตเมือง อำเภอ จังหวัด
- มีส่วนร่วมโดยทุกภาคส่วน - ภาคีเครือข่ายสนับสนุนการบริหารจัดการและการดำเนินการ - องค์กรและสมาชิกในชุมชน - มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบที่ มุ่งสู่ความสำเร็จ ต่อเนื่อง ยั่งยืน - มีจุดจัดการที่มีพลัง และมุ่งมั่น - มีกลไกการจัดการ เช่นกรรมการระดับจังหวัด อำเภอ และชุมชน - มีระบบและกระบวนการบริหารจัดการที่ดี โปร่งใส - มีแผนและการดำเนินการตามแผนที่มีคุณภาพในทุกระดับ
ดำเนินการให้ครบถ้วนในแต่ละพื้นที่ เขตเมือง และชนบท ครอบคลุมองค์ประกอบของชุมชน คือ สถานที่ราชการ สถานประกอบการต่างๆ ตลาด ร้านอาหาร โรงแรม สถานบันเทิง ขนส่ง วัด โรงเรียนระดับอาชีวศึกษา มัธยม ประถมศึกษา สถานบริการสุขภาพ และร้านค้าบุหรี่ เป็นต้น ตามบริบทของแต่ละพื้นที่
ดำเนินการโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในพื้นที่ • องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นมีบทบาทร่วมที่สำคัญ • ใช้งบประมาณที่มีในท้องถิ่นสนับสนุนการดำเนินการ เช่นใช้งบกองทุนสุขภาพตำบล • ใช้ทุนทางสังคม และกลไกการควบคุมทางสังคม
การป้องกันวัยรุ่นและเยาวชนไม่ให้เป็นนักสูบหน้าใหม่ • เป็น KPI ใหม่ของกระทรวงสาธารณสุข • ให้โรงเรียนทำโครงการโรงเรียนปลอดบุหรี่อย่างเป็นระบบและต่อเนื่องโดยครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วม
สถานพยาบาลปลอดบุหรี่เป็น KPI ใหม่ของกระทรวง • ปลอดบุหรี่ตามกฏหมาย • ต้องมีบริการช่วยเลิกบุหรี่ การอบรมและจัดตั้งคลีนิคอย่างเดียวไม่ได้ผล เพราะมีผู้ใช้บริการน้อยเมื่อเทียบกับจำนวนผู้สูบในพื้นที่ • ต้องทำเชิงรุกทั้งในโรงพยาบาลโดยscreen ผู้สูบตั้งแต่ลงทะเบียนผู้ป่วยนอก และทุกคลีนิคตรวจโรคในโรงพยาบาลต้องให้คำแนะนำให้เลิกสูบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยโรคที่เกี่ยวข้อง เช่น DM HT โรคปอด หัวใจ TB เป็นต้น • อาจให้คำแนะนำและช่วยการเลิกในคลีนิคเหล่านั้นเองหรือส่งต่อไปให้คลีนิคช่วยเลิกบุหรี่ • มีการจัดบริการแนะนำขั้นต้นในชุมชนโดยอสม.และรพสต. • ให้บริการทางโทรศัพท์ • เชื่อมโยงทุกระดับ
การสื่อสารเพื่อสร้างกระแสความตระหนักและสร้างค่านิยมและบรรทัดฐานการไม่สูบบุหรี่ ใช้สื่อทุกประเภท เครือข่ายสื่อมวลชน • วิทยุชุมชนมีอยู่จำนวนมาก สามารถใช้ได้ในทุกพื้นที่โครงการหรือเต็มพื้นที่จังหวัดโดยเครือข่ายวิทยุชุมชน
ที่สำคัญที่สุดที่จะทำให้โครงการสำเร็จได้คือการบริหารจัดการโครงการที่เป็นระบบ จริงจัง และมีประสิทธิภาพ
แนวทางการสนับสนุนการบริหารจัดการและดำเนินการโครงการแนวทางการสนับสนุนการบริหารจัดการและดำเนินการโครงการ - การหารือผู้บริหารหรือหัวหน้าหน่วยจัดการเกี่ยวกับนโยบายและการสนับสนุน - การพิจารณากำหนดจุดจัดการและผู้จัดการโครงการ - การจัดทำ/พัฒนาโครงการ - การจัดตั้งและกำหนดบทบาทหน้าที่ และแผนการบริหารโครงการของกรรมการและ ผู้จัดการ - การเตรียมกรรมการก่อนเริ่มโครงการ Advocacy & capacity building - การสร้างเครือข่ายพหุภาคีและการเตรียมภาคี Advocacy & capacity building - การจัดทำแผนปฏิบัติการโครงการแบบมีส่วนร่วม - ขั้นตอนสำคัญในกระบวนการดำเนินการตามแผน เช่นการจัดทำแผนชุมชน และ ดำเนินการตามแผนโดยการมีส่วนร่วม - การกำกับ ติดตามการดำเนินการ และประเมินผลภายในโครงการ - การกำกับ ติดตามการดำเนินการ และประเมินผลจากองค์กรสนับสนุนโครงการ สสส. ศจย.
บทบาทการควบคุมยาสูบ และบทบาทในโครงการจังหวัดปลอดบุหรี่ ของ • สำนักงานป้องกันและควบคุมโรคเขต • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด