330 likes | 984 Views
หน่วยที่ 6. ราคาสินค้าเกษตร. การกำหนดราคาในทางทฤษฎี. โครงสร้างของตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์ 1. จำนวนผู้ซื้อและผู้ขายในตลาดมีมาก ตลาดเป็นผู้รับราคา (price – taker) 2. สินค้ามีลักษณะเหมือนกันและทดแทนกันได้อย่างดี 3. ไม่มีสิ่งใดไปจำกัดอุปสงค์ อุปทาน หรือราคา
E N D
หน่วยที่ 6 ราคาสินค้าเกษตร
การกำหนดราคาในทางทฤษฎีการกำหนดราคาในทางทฤษฎี โครงสร้างของตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์ 1. จำนวนผู้ซื้อและผู้ขายในตลาดมีมาก ตลาดเป็นผู้รับราคา (price – taker) 2. สินค้ามีลักษณะเหมือนกันและทดแทนกันได้อย่างดี 3. ไม่มีสิ่งใดไปจำกัดอุปสงค์ อุปทาน หรือราคา 4. ทรัพยากรการผลิตและสินค้าสามารถเคลื่อนย้ายได้อย่างอิสระ 5. ผู้ขายและผู้ซื้อมีความรู้อย่างสมบูรณ์ การกำหนดราคาในตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์
P(ราคา) P (ราคา) S D Pe P0 E d = AR = MR D S 0 0 Q (ปริมาณสินค้า) ธุรกิจ Q (ปริมาณสินค้า) ตลาด ดุลยภาพของหน่วยธุรกิจ ภาพที่ 6.3 การกำหนดราคาของหน่วยธุรกิจในตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์
MC (SRMC) ATC (SRAC) P (ราคา) AVC E P1 d = AR = MR = Pe C F 0 Q0 Q (ปริมาณสินค้า) ภาพที่ 6.4 ดุลยภาพในระยะสั้นของหน่วยธุรกิจในตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์
P (ราคา) LRMC SRMC LRAC SRAC E P0 d = AR = MR = Pe O Q (ปริมาณสินค้า) Q ภาพที่ 6.5 ดุลยภาพในระยะยาวของหน่วยธุรกิจในตลาดแข่งขันอย่างสมบูรณ์
การกำหนดราคาในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์การกำหนดราคาในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ การกำหนดราคาในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ลักษณะของตลาดผูกขาด 1. มีผู้ผลิตรายเดียวและไม่มีสินค้าอื่นไปทดแทนได้ 2. ผู้ซื้อยอมรับราคาสินค้าที่ผู้ขายกำหนด และผู้ขายก็ยอมรับราคา ปัจจัยการผลิตในตลาด 3. ไม่มีต้นทุน (ค่าใช้จ่าย) ในการซื้อขายสินค้าเกิดขึ้น 4. ผู้ขายและผู้ซื้อมีข้อสนเทศอย่างสมบูรณ์
P MC ATC P* C* P, D MR Q O Q* MC = MR
MC ATC 8 P MR O 30 MC = MR
P ATC MC AVC 9 8.50 8 D MR Q O 30 MC = MR
Q P AC(Q) AVC(Q) AFC(Q) การกำหนดราคาของตลาดผูกขาด ราคาและต้นทุน (บาท) MC F ATC AVC G E D = AR AFC MR Q(ปริมาณสินค้า) 0 ภาพที่ 6.7 การกำหนดราคาเพื่อกำไรสูงสุดของผู้ขายผูกขาดในระยะยาว
ราคาและต้นทุน (บาท) LRMC LRAC P0 SRMC SRAC E0 C D = AR MR Q(ปริมาณสินค้า) 0 Q0 ภาพที่ 6.7 การกำหนดราคาเพื่อกำไรสูงสุดของผู้ขายผูกขาดในระยะยาว
การกำหนดราคาในตลาดผู้ขายน้อยรายการกำหนดราคาในตลาดผู้ขายน้อยราย ลักษณะของตลาดผูกขาดน้อยราย 1. ในตลาดนี้มีผู้ขายตั้งแต่ 2 รายขึ้นไป 2. การกระทำของผู้ขายแต่ละรายในตลาดมีกระทบซึ่งกันและกัน 3. สินค้าที่วางขายในตลาดอาจเหมือนกันหรือต่างกันก็ได้ 4. หน่วยธุรกิจใหม่เข้าไปแทรกแซงในตลาดได้ยาก
P (ราคา) MCF k ACr P E Dm Q (ปริมาณสินค้า) 0 Q1 Q2 Dr MRr • วิธีการกำหนดราคาในตลาดผู้ขายน้อยราย • 1. ทฤษฎีการกำหนดราคาโดยใช้ส่วนแบ่งตลาด ภาพที่ 6.9 การกำหนดราคาในตลาดผู้ขาย 2รายโดยใช้ส่วนแบ่งตลาด
P D Dmหรือ MCs P1 Sdหรือ MCd C A B P2 Dd E Dm O Q F G I H MRd 2. ทฤษฎีการกำหนดราคาตามผู้นำ ภาพที่ 6.10 การกำหนดราคาโดยหน่วยธุรกิจขนาดใหญ่
P (ราคา) D MC1 P2 AC1 MC2 AC2 Dm E d MR1= MR2 Q (ปริมาณสินค้า) O Q2 Qm ภาพที่ 6.11 การกำหนดราคาโดยหน่วยธุรกิจที่มีต้นทุนการผลิตต่ำกว่า
หน่วยธุรกิจ A หน่วยธุรกิจ B ตลาด P (ราคา) P (ราคา) P (ราคา) D MCa MCb P Qm= P Qa+ Qa Qb P Qb MC E Dm 0 Qa (ปริมาณสินค้า) 0 Qb (ปริมาณสินค้า) 0 Qa + Qb (ปริมาณสินค้า) 3. ทฤษฎีการร่วมมือกำหนดราคาอย่างเปิดเผย ระหว่างหน่วยธุรกิจ ภาพที่ 6.12 การกำหนดราคาและปริมาณการผลิตที่ได้กำไรสูงสุดร่วมกัน ในกรณีที่หน่วยธุรกิจมีการร่วมมือกันอย่างเปิดเผย
TR TR Q Q P 10 P, AR=MR Q 0
การกำหนดราคาในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดการกำหนดราคาในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด โครงสร้างของตลาดกึ่งผูกขาด 1. ในตลาดมีหน่วยธุรกิจจำนวนมากราย 2. สินค้าที่ผลิตและขายในตลาดมีความแตกต่างกันแต่ไม่สมบูรณ์ 3. หน่วยธุรกิจเข้าออกจากตลาดได้ค่อนข้างง่าย 4. ผู้ซื้อและผู้ขายมีความรู้หรือข่าวสารมากพอในการตัดสินใจซื้อ หรือขายสินค้าได้อย่างดี
ดุลยภาพระยะสั้นและระยะยาวในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดดุลยภาพระยะสั้นและระยะยาวในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ราคาและต้นทุน (บาท/หน่วย) d D MC ATC P E C d mr D 0 Q Q (ปริมาณสินค้า) ภาพที่ 6.13 ดุลยภาพระยะสั้นในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ราคาและต้นทุน (บาท/หน่วย) d D LRMC A P LRAC E d MR D 0 Q Q (ปริมาณสินค้า) ภาพที่ 6.14 ดุลยภาพระยะยาวในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
การกำหนดราคาในทางปฏิบัติ 1. การต่อรองราคาระหว่างบุคคลต่อบุคคล2. การกำหนดราคาในตลาดที่มีรูปแบบ3. การกำหนดราคาโดยผู้บริหาร4. การกำหนดราคาโดยการต่อรองด้วยกลุ่ม
การวิเคราะห์ความแตกต่างของราคาสินค้าเกษตร ความแตกต่างของราคาตามส่วนเหลื่อมการตลาดส่วนเหลื่อมการตลาด หมายถึง1) ความแตกต่างระหว่างราคาสินค้าที่ผู้บริโภคจ่าย กับราคาที่ผู้ผลิตได้รับ2) ค่าบริการการตลาดต่าง ๆ ที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายสินค้า จากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค เช่น ค่าขนส่ง ค่าเก็บรักษา ค่าแปรรูป และกำไรของพ่อค้า
P (ราคา) อุปทานสืบเนื่อง อุปทานขั้นปฐม Pr ส่วนเหลื่อมการตลาด Pf อุปสงค์ขั้นปฐม อุปสงค์สืบเนื่อง 0 Q Q (ปริมาณสินค้า) ภาพที่ 6.16 ส่วนเหลื่อมการตลาดระหว่างตลาดขายปลีกและ ตลาดระดับฟาร์ม
ค่าโยกย้ายสินค้า (บาทต่อหน่วย) ค่าโยกย้ายสินค้า (บาทต่อหน่วย) C B A 0 ระยะทาง (กม.) 0 ระยะทาง (กม.) ก. เส้นค่าโยกย้ายสินค้าที่เป็นเส้นตรง ข. เส้นค่าโยกย้ายสินค้าในลักษณะอื่น ๆ ค่าโยกย้ายสินค้า (Transfer Cost) ภาพที่ 6.19 เส้นค้าโยกย้ายสินค้าในลักษณะต่าง ๆ กัน
ราคาสุทธิต่อหน่วย เส้นราคาสุทธิ ระยะทาง (กม.) ตลาดกลาง ภาพที่ 6.21 เส้นราคาสุทธิ
ราคาสุทธิต่อหน่วย ราคาสุทธิต่อหน่วย Pa เส้นราคาสุทธิ Pb Pb อาณาเขตใหม่ อาณาเขตเดิม 0 200 400 ตลาด A 300 ตลาด B 500 100 ระยะทางจากตลาด (กม.) ภาพที่ 6.22 ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงราคาตลาดและ ค่าโยกย้ายสินค้าที่มีต่ออาณาเขตระหว่างตลาด
ความไม่มีเสถียรภาพของราคาสินค้าเกษตรความไม่มีเสถียรภาพของราคาสินค้าเกษตร ลักษณะของราคาผลิตผลเกษตรทั่วไป 1. ตลาดสินค้าเกษตรส่วนใหญ่คล้ายคลึงกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์ 2. อุปทานและอุปสงค์ของผลิตผลเกษตรส่วนใหญ่มีความยืดหยุ่นน้อย ราคามีการเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้งและช่วงการเปลี่ยนแปลงกว้าง 3. ลักษณะทางชีวภาพของผลิตผลเกษตรทำให้ราคาไม่มีเสถียรภาพ ผลผลิตจะเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาลและปริมาณการผลิตต่างกันทุกปี 4. อุปทานและอุปสงค์ของผลิตผลที่แหล่งผลิตส่วนใหญ่มีความยืดหยุ่นน้อย 5. การผลิตต้องใช้เวลา 6. การผลิตกระจัดกระจายไปตามความเหมาะสมของภูมิภาค ทำให้กำหนดราคายาก
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของราคาผลิตผลเกษตรลักษณะการเปลี่ยนแปลงของราคาผลิตผลเกษตร 1. การเปลี่ยนแปลงของราคาในระยะสั้นมาก2. ตามฤดูกาล3. ตามรายปี4. ตามวัฏจักร5. ตามแนวโน้มระยะยาว6. การเคลื่อนไหวของราคาที่ผิดปกติ
นโยบายเพื่อความมีเสถียรภาพของระดับราคาผลิตผลเกษตรนโยบายเพื่อความมีเสถียรภาพของระดับราคาผลิตผลเกษตร 1. การพัฒนาและปรับปรุงระบบสารสนเทศทางการตลาด ให้รวดเร็วขึ้น 2. การเก็บรักษาผลิตผลไว้จำหน่ายในลักษณะมูลภัณฑ์กันชน 3. การส่งสินค้าไปจำหน่ายต่างประเทศ 4. การนำสินค้าเข้าประเทศ 5. การสร้างระบบการเก็บรักษาสินค้า
การจ่ายค่าชดเชย P (ราคา) D S A P3 ค่าใช้จ่ายของรัฐบาล P2 B P1 S รายจ่ายของ ผู้บริโภค D Q (ปริมาณผลิตผล) 0 Q1 Q2 นโยบายประกันราคาและการรับซื้อผลิตผล ภาพที่ 6.28 ราคา รายจ่ายของผู้บริโภคและค่าใช้จ่ายของรัฐบาลในการพยุงราคา เหนือระดับราคาดุลยภาพ
การรับซื้อผลิตผล S P (ราคา) D A B P2 การรับซื้อของรัฐบาล P1 S D Q (ปริมาณผลิตผล) 0 Q1 Q2 ภาพที่ 6.29 รายจ่ายของผู้บริโภคและค่าใช้จ่ายของรัฐบาล ในการพยุงราคาเหนือดุลยภาพ โดยใช้นโยบายรับซื้อผลิตผล