160 likes | 545 Views
อบรมเชิงปฏิบัติการ อส ม.เชี่ยวชาญด้านการคุ้มครองผู้บริโภค และการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน. นายแพทย์ พูล สิทธิ์ ศี ติสาร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี วันที่ 19 มีนาคม 2556. GOAL. เข้าถึง ปลอดภัย เสมอภาค เป็นธรรม. 3 Problems. P1 ปัญหาการถูกละเมิดสิทธิ์
E N D
อบรมเชิงปฏิบัติการ อสม.เชี่ยวชาญด้านการคุ้มครองผู้บริโภคและการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน นายแพทย์พูลสิทธิ์ ศีติสาร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี วันที่ 19 มีนาคม 2556
GOAL • เข้าถึง • ปลอดภัย • เสมอภาค • เป็นธรรม
3 Problems P1ปัญหาการถูกละเมิดสิทธิ์ P2 ปัญหาผู้บริโภคขาดความเข้าใจใน “หลักการของการคุ้มครองผู้บริโภค” * เข้าใจว่าเป็นหน้าที่ของรัฐ * ละทิ้ง นิ่งเฉย ธุระไม่ใช่ ไม่ร้องเรียน * ไม่นิ่งเฉย....แต่ไม่รู้จะไปร้องเรียนได้ที่ไหน * ร้องแล้ว.....แต่ไม่มีการแก้ไข หรือแก้ไขล่าช้า P3 ปัญหาความรุนแรงระดับพื้นที่ อาหาร * 80 % เป็นเรื่องความปลอดภัยด้านอาหาร โดยเฉพาะ “น้ำมันทอดซ้ำ” สารโพลาร์ * สินค้าหนีภาษีที่ไม่มีคุณภาพ / ไม่ปลอดภัย * สวยซ่อนเสี่ยง
KSF (Key Success Factors)ปัจจัยแห่งความสำเร็จ • KSF 1 สคบ.& อย.กับการถ่ายโอนภารกิจ • KSF 2 สมัชชาสุขภาพ • KSF 3 นโยบายสาธารณะ • KSF 4 กลไกผ่าน 3 settingของ “สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา” & MOU
KSF (Key Success Factors)ปัจจัยแห่งความสำเร็จ(ต่อ) • KSF 4 กลไกผ่าน 3 setting ของ “สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา” & MOU • 4.1 ภาคประชาชนและชุมชน (มี 3 ฐานะ) • ฐานะที่ 1 ผู้ประกอบการ • ฐานะที่ 2 ผู้บริโภค • ฐานะที่ 3 นักเรียน ผู้บริโภครุ่นเยาว์ • 4.2 ภาครัฐ (มี 2 ฐานะ) • ฐานะที่ 1 ท้องที่ (กำนัน / ผู้ใหญ่บ้าน) เฝ้าระวังหลัก ความมั่นคงปลอดภัย • ฐานะที่ 2 ท้องถิ่น (อบต.,เทศบาล) เจ้าภาพหลัก • 4.3 ภาควิชาชีพ/วิชาการ (มี 3 ฐานะ) • ฐานะที่ 1 สาธารณสุข (หมอ) • ฐานะที่ 2 ศึกษา (ครู) • ฐานะที่ 3 วัด (พระ)
ขั้นตอนกลไกสำคัญ • เน้นกระบวนการทีส่วนร่วมด้วยกลไกสมานฉันท์ • ระดมความคิดเห็นเรื่องปัญหาผู้บริโภคที่พบเจอจริงในพื้นที่ด้วยประสบการณ์ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท (Groupping) 2.1 ปัญหาการกินอาหาร (P1) 2.2 ปัญหาการใช้สินค้า (P2) 2.3 ปัญหาจากการใช้บริการ (P3) • แลกเปลี่ยนเรียนรู้จาก “สถานการณ์สำคัญที่ได้จากข้อ 1 และจากที่นักวิชาการรวบรวมสถิติเรื่องร้องเรียนจากทุกหน่วยงานในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี) • นักวิชาการวิเคราะห์ เสนอทางเลือกและการแก้ไขปัญหาในรูปแบบของ A) นโยบายสาธารณะ B) การแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติที่เหมาะสม มี MOUเป็นเครื่องมือ
จะเกิดกลไกสำคัญที่สุด คือ ? การก่อเกิดนโยบายสาธารณะด้าน คบส. • ใช้กลวิธี “ทำ MOUระดับจังหวัด” • (เน้นเนื้อหา “การมีคณะทำงานด้านการพัฒนาระบบ คบส.ส.ตำบล”
ขอบเขตงาน ใน MOU • การตั้งศูนย์พิทักษ์สิทธิ์ประจำตำบล / เทศบาล / อบต. หน้าที่ ไกล่เกลี่ย / แก้ไขปัญหา • การพัฒนาศักยภาพ “ผู้บริโภค” หน้าที่ - อบรมเชิงปฏิบัติการและฝึกทักษะที่จำเป็น - จัดโครงการ “ตาสับปะรด คบส.ส.” - อบรมคณกรรมการ ฯ - การจัดโครงการเฝ้าระวัง
ขอบเขตงาน ใน MOU • การพัฒนา / สร้าง / ขยาย “เครือข่าย” คบส.ส. หน้าที่ - ยกระดับ อสม.คบส.สภา อสม.คบส. - จัดตั้งชมรม คบส.ส. - จัดทำสมัชชาผู้บริโภค • การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารด้าน คบส.ตำบล