590 likes | 1.36k Views
การวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์. อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. การวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์. กรอบความคิด Economic Cost Benefit Analysis การวิเคราะห์ประสิทธิภาพด้านต้นทุน เครื่องมือการวัดความคุ้มค่าของโครงการ
E N D
การวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์การวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ กรอบความคิด Economic Cost Benefit Analysis การวิเคราะห์ประสิทธิภาพด้านต้นทุน เครื่องมือการวัดความคุ้มค่าของโครงการ การวิเคราะห์รายการประโยชน์และต้นทุน การวิเคราะห์ด้านราคา การวิเคราะห์ความเสี่ยง ข้อพึงระวังในการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของโครงการ
กรอบความคิดEconomic Cost Benefit Analysis • การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์แตกต่างจากการวิเคราะห์ทางการเงินโดยเป็นการเปลี่ยนวิธีคิดโดยเอาส่วนรวมเป็นที่ตั้ง • เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจ เพื่อเพิ่มสวัสดิการสังคม ให้การใช้ทรัพยากรมีประสิทธิภาพ • เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจ เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในการใช้ทรัพยากร • เป็นการปรับข้อมูลให้สามารถเปรียบเทียบกันได้อย่างถูกต้อง เวลา (ปีฐาน) สถานที่ สกุลเงิน ความบิดเบือนของค่าเงิน หน่วยวัด • ECBA เป็นเครื่องมีที่ควรใช้ประกอบการการกำหนดนโยบายของรัฐ
สินค้าอื่นๆ Y0 A B Y1 C Y2 U1 U0 U2 โครงการโรงไฟฟ้า 5 6 7 การวิเคราะห์ความคุ้มค่าเป็นการวัดการเพิ่มสวัสดิการสังคม
นโยบายของรัฐ และการวิเคราะห์โครงการ สังคมไทย การตัดสินใจโดย การวิเคราะห์โครงการ การตัดสินใจโดย นโยบายของรัฐ การวิเคราะห์ประสิทธิ ภาพด้านต้นทุน
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพด้านต้นทุนการวิเคราะห์ประสิทธิภาพด้านต้นทุน
เครื่องมือการวัดความคุ้มค่าของโครงการเครื่องมือการวัดความคุ้มค่าของโครงการ Net Present Value (NPV) Financial NPV Economic NPV Internal Rate of Return (IRR) Financial IRR (FIRR) Economic IRR (EIRR) Benefit Cost Ratio (B/C) Financial B/C Economic B/C
เครื่องมือการวัดความคุ้มค่าของโครงการเครื่องมือการวัดความคุ้มค่าของโครงการ Net Present Value (NPV) NPV วัดขนาดของสวัสดิการ ทำการลงทุนเมื่อค่า NPV > 0
เครื่องมือการวัดความคุ้มค่าของโครงการเครื่องมือการวัดความคุ้มค่าของโครงการ Internal Rate of Return (IRR) หรือ โดยที่ i คือ IRR อัตราผลตอบแทนภายใน IRR วัดอัตราผลตอบแทนของการลงทุน ทำการลงทุนเมื่อค่า IRR > r IRR ไม่สามารถขนาดของการเพิ่มสวัสดิการได้
เครื่องมือการวัดความคุ้มค่าของโครงการเครื่องมือการวัดความคุ้มค่าของโครงการ Benefit Cost Ratio (B/C) B/C วัดอัตราผลตอบแทนของการลงทุน ทำการลงทุนเมื่อค่า B/C > 1 B/C ไม่สามารถขนาดของการเพิ่มสวัสดิการได้
การวิเคราะห์รายการประโยชน์และต้นทุนการวิเคราะห์รายการประโยชน์และต้นทุน 1. ใช้ Production Function กำหนดรายการประโยชน์และต้นทุน 2. ราคาเงา Shadow Pricing 3. With vs Without NOT Before vs. After 4. ผลด้านการทดแทน Substitution Effect 5. องค์ประกอบของโครงการ Project Components 6. ภาษี และค่าธรรมเนียม Taxes and Fees 7. Sunk Cost(ประเมินก่อน ประเมินหลัง) และ ค่าซาก Terminal Value 8. การนับซ้ำ (เชิงปริมาณ และ ทางการเงิน) Double Counting
การวิเคราะห์ด้านราคา 9. Constant Price vs. Current Price and Real vs. Nominal Discount Rate 10. Shadow Exchange Rate and Conversion Factor
1. Production Function ประโยชน์ของโครงการ ต้นทุนของโครงการ • ประโยชน์ด้านการเพิ่มรายได้หรือเพิ่มการจ้างงาน • ประโยชน์ในรูปค่าธรรมเนียมให้รัฐบาลท้องถิ่น • ประโยชน์ในรูปการทำให้ราคาที่ดินเพิ่มขึ้น • ต้นทุนค่าแรงงาน • ต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านค่าธรรมเนียม • ต้นทุนของสังคมเพราะราคาที่ดินเพิ่มขึ้น Output = f(Land, Labour, Capital; ….)
ต้นทุน กรณี ประโยชน์ 1 รายรับ 1,000 รายได้ค่าแรง 180 2 รายรับ 1,000 ต้นทุนค่าแรง 180 3 รายรับ 1,000 ค่าแรง(ราคาเงา) 100 ค่าเสียโอกาส 2.ราคาเงา(Shadow Pricing)
4.ผลด้านการทดแทน (Substitution Effect)
5.องค์ประกอบของโครงการ (Project Components) การวิเคราะห์ความคุ้มค่าควรมีการคำนวณอัตราผลตอบแทนสำหรับโครงการเขื่อนทั้ง 7 กรณีดังนี้ (1)โครงการเขื่อนเพื่อการเกษตร (2) โครงการเขื่อนเพื่อผลิตไฟฟ้า (3) โครงการเขื่อนเพื่อการท่องเที่ยว (4) โครงการเขื่อนเพื่อการเกษตรและเพื่อผลิตไฟฟ้า (5) โครงการเขื่อนเพื่อการเกษตรและเพื่อการท่องเที่ยว (6) โครงการเขื่อนเพื่อผลิตไฟฟ้าและเพื่อการท่องเที่ยว และ (7) โครงการเขื่อนเพื่อการเกษตร การผลิตไฟฟ้า และการท่องเที่ยว ทั้งนี้เพื่อที่จะได้ทำการเลือกรูปแบบที่เหมาะสมว่าโครงการที่ดีที่สุดควรมีองค์ประกอบอะไรบ้างที่จะ ทำให้มีอัตราผลตอบแทนสูงสุด
6.ภาษี และค่าธรรมเนียม • ภาษีเป็นเงินโอน (Transfer Payment) ไม่นำมาคำนวณในการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของโครงการ • ค่าธรรมเนียมสะท้อนต้นทุนการผลิต จึงนำมาคำนวณในการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของโครงการ
7. Sunk Costและ ค่าซาก • Sunk Cost ประเมินก่อนโครงการจะเริ่ม Ex Ante ไม่นำมาคำนวณ ประเมินหลังโครงการเสร็จสิ้นแล้ว Ex Postนำมาคำนวณ • ค่าซาก นำมาคำนวณด้วย • ค่าขนส่ง นำมาคำนวณด้วย
8.การนับซ้ำ(Double Counting) เชิงปริมาณเช่น โครงการมีต้นทุนสามรายการด้วยกันได้แก่ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพราะทำให้เกิดมลพิษทางอากาศ ค่าก่อสร้างระบบกำจัดมลพิษ ค่ารักษาพยาบาล ทางการเงินเช่น โครงการสร้างประโยชน์หลายประการด้วยกันได้แก่ การสร้างรายรับให้กับจังหวัดจากค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว รายรับของโรงแรมเพิ่มขึ้น รายรับของท้องถิ่นที่เพิ่มขึ้นจากการเก็บค่าธรรมเนียมโรงแรม คนงานมีรายได้เพิ่มขึ้น และเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น
อัตราคิดลด Current Price (ปีที่ 3 = 150) Nominal Discount Rate (12%) Constant Price (ปีที่ 3 = 131.02) Real Discount Rate (4.67%)
. . . อัตราคิดลด
. . . อัตราคิดลด
Tradable & Non Tradable เครื่องมือในการปรับมูลค่า • Official Exchange Rate (OER) • Shadow Exchange Rate (SER) • Conversion Factor
Tradable & Non Tradable • Shadow Exchange Rate (SER) Domestic Currency & Domestic Price (Baht) (Distorted Price) Tradables: • ปรับมูลค่าสินค้าTradables ด้วย SER $US Baht Undistorted Price Distorted Price Non-Tradables: • ไม่ต้องปรับอะไรเลยBaht Distorted Price
Tradable & Non Tradable • Conversion Factor (CF) & Official Exchange Rate (OER) Domestic Currency & Border Price (Baht) (Undistorted) Tradables: • ปรับมูลค่าสินค้าTradables ด้วย OER $US Baht Undistorted Undistorted Non-Tradables: • ปรับมูลค่าสินค้า Non Tradablesด้วย CF Baht Baht Distorted Undistorted
Tradable & Non Tradable • Conversion Factor (CF) & Official Exchange Rate (OER) Foreign Currency & Border Price ($US) (Undistorted) Tradables: • ไม่ต้องทำอะไรเลย $US Undistorted Non-Tradables: • ปรับมูลค่าสินค้า Non Tradablesด้วย CF & OER Baht $US Baht Distorted Undistorted
Financial vs Economic CBA Financial CBA (FIRR) • กำไร-ขาดทุนของบริษัทหรือองค์กร • ใช้ผลผลิตขององค์กร • ใช้ราคาตลาดในการกำหนดมูลค่า • ภาษีนับเป็นต้นทุน • ไม่พิจารณาเรื่อง Tradables vs Non tradables • ใช้Bank Lending Rateเพื่อปรับมูลค่าระหว่างเวลา Economic CBA (EIRR) • กำไร-ขาดทุนของสังคม • ใช้ผลกระทบต่อสังคม (สิ่งแวดล้อม) • ใช้ค่าเสียโอกาสในการกำหนดมูลค่า • ไม่นับภาษีเพราะเป็นเงินโอน • พิจารณาเรื่อง Tradables vs Non tradables • ใช้ Social Discount Rateเพื่อปรับมูลค่าระหว่างเวลา
Expected NPV Expected Revenue ∑Pr*B= 171.11 ล้านบาท Expected Cost ∑Pr*C= 154.44 ล้านบาท Expected NPV = 16.67 ล้านบาท
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม • Travel Cost Method • Hedonic Price Method • Contingent Valuation Method • Averting Behaviour Method • Benefit Transfer Method
กรณีศึกษา • กรณีศึกษาโครงการเขื่อนทดน้ำบางประกง • กรณีศึกษาโครงการดาวเทียม