1 / 50

การบรรยายเรื่อง เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินฝาก และ การตรวจสอบ

การบรรยายเรื่อง เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินฝาก และ การตรวจสอบ. ฝ่ายบัญชี 3 กองบัญชี สำนักงานงบประมาณและการเงิน. หัวข้อ การนำเสนอ. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินฝาก การรับ -จ่ายเงินนอก งบประมาณ การตรวจสอบเงินนอกจากงบทดลอง. องค์ประกอบของเงินนอกงบประมาณ.

lew
Download Presentation

การบรรยายเรื่อง เงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินฝาก และ การตรวจสอบ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบรรยายเรื่องเงินนอกงบประมาณประเภทเงินฝาก และการตรวจสอบ ฝ่ายบัญชี 3 กองบัญชี สำนักงานงบประมาณและการเงิน

  2. หัวข้อการนำเสนอ • ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเงินนอกงบประมาณ ประเภทเงินฝาก • การรับ-จ่ายเงินนอกงบประมาณ • การตรวจสอบเงินนอกจากงบทดลอง

  3. องค์ประกอบของเงินนอกงบประมาณองค์ประกอบของเงินนอกงบประมาณ เงินทั้งปวงที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการนอกจาก • เงินงบประมาณรายจ่าย • เงินรายได้แผ่นดิน • เงินเบิกเกินส่งคืน • เงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน

  4. ที่มาของเงินนอกงบประมาณที่มาของเงินนอกงบประมาณ • พรบ. เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 • พรบ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502

  5. พรบ. เงินคงคลัง พ.ศ. 2491มาตรา 3 และ มาตรา 12 เงินนอกงบประมาณ ประกอบด้วย • เงินยืมทดรองราชการ • เงินฝาก • เงินทุนหรือเงินทุนหมุนเวียน • เงินขายบิล

  6. พรบ.วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 • เงินบูรณะทรัพย์สิน • เงินบริจาค • เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ • เงินบำรุงการศึกษา • เงินบำรุงของหน่วยงานบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข • เงินทดรองราชการ • เงินทุนสำรองจ่าย

  7. เงินนอกงบประมาณตามนัยมาตรา 4 แห่งพ.ร.บ.คงคลัง พ.ศ.2491 และมาตรา 24 แห่งพ.ร.บ.วิธีการงบประมาณพ.ศ.2502 ได้แก่ 1.เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ หมวด 100 2.เงินบริจาค/เงินอุดหนุน หมวด 200 3.เงินรายรับสถานศึกษา หมวด 300 4.เงินรายรับสถานพยาบาล หมวด 400 5.เงินบูรณะทรัพย์สิน หมวด 500 6.เงินค่าใช้จ่ายเก็บภาษีท้องถิ่น หมวด 600 7.เงินรายได้จากการดำเนินงาน หมวด 700

  8. 8. เงินประกันสัญญา/เงินมัดจำ หมวด 800 9. เงินดอกเบี้ยกลางศาล/ค่าธรรมเนียมศาล/ค่าธรรมเนียมในการบังคับคดี หมวด 900 10. เงินกู้ หมวด 1000 11. เงินผลพลอยได้ หมวด 1200 12. เงินเพื่อประโยชน์การศึกษา หมวด 1300 13. เงินสินบนรางวัล หมวด 1500 14. เงินฝากต่าง ๆ หมวด 1700 15. เงินรับฝากเพื่อรอจัดสรร/ถอนคืน หมวด 1800 16. เงินนอกงบประมาณตามวัตถุประสงค์อื่น หมวด 1900

  9. เงินฝากคลัง เงินที่กระทรวงการคลังรับฝากไว้ และจ่ายคืนตามคำขอของผู้ฝาก ตามข้อบังคับและระเบียบของกระทรวงการคลัง เงินที่ส่วนราชการจะนำฝากต้องไม่เข้าลักษณะดังต่อไปนี้ • เงินงบประมาณ • เงินที่มีบัญชีเงินทุนหมุนเวียน • เงินรายได้แผ่นดิน

  10. ลักษณะของเงินนอกงบประมาณประเภทเงินฝากลักษณะของเงินนอกงบประมาณประเภทเงินฝาก

  11. เงินบูรณะทรัพย์สิน • เงินที่ได้รับในลักษณะชดใช้ความเสียหาย หรือสิ้นเปลืองแห่งทรัพย์สิน และจำเป็นต้องจ่ายเพื่อบูรณะทรัพย์สินหรือจัดให้ได้ทรัพย์สินคืนมา • โดยให้ถือปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค๐๔๐๙.๓/ว ๕๐๓ ลงวันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๘ และหนังสือ กช.สงป.ที่๐๐๑๐.๓๓/๑๗๐๙ ลง ๑๕ ส.ค.๒๕๕๖

  12. เงินบริจาค • เงินซึ่งมีผู้มอบให้ส่วนราชการโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ส่วนราชการใช้จ่ายในกิจการของส่วนราชการนั้น หรือเป็นเงินที่เกิดจากทรัพย์สินซึ่งมีผู้มอบให้เพื่อหาดอกผลใช้จ่ายในกิจการของส่วนราชการนั้น

  13. เงินรายได้จากการดำเนินงานเงินรายได้จากการดำเนินงาน • เงินที่ได้รับจากการดำเนินงานที่ส่วนราชการได้รับไว้ตามกฎหมายหรือผู้มีอำนาจตามกฎหมายอนุญาตให้ส่วนราชการนั้นสามารถเก็บไว้เป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานตามภารกิจของส่วนราชการนั้น ๆ

  14. เงินประกันสัญญา/เงินมัดจำเงินประกันสัญญา/เงินมัดจำ • เงินที่ส่วนราชการได้รับจากผู้ขายหรือผู้รับจ้างเมื่อทำสัญญาจ้างเพื่อเป็นประกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการที่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างไม่ปฏิบัติตามสัญญา หรือเป็นหลักฐานว่าได้มีการทำสัญญากันแล้ว

  15. เงินบำรุงการศึกษา • เงินทั้งปวงที่สถานศึกษาได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์นอกเหนือจากเงินงบประมาณรายจ่าย

  16. เงินสินบนรางวัล • เงินตอบแทนเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติ หน้าที่ตามอำนาจที่กำหนดในระเบียบ เช่นเงินรางวัลเจ้าหน้าที่จราจร

  17. ประโยชน์ของเงินนอกงบประมาณ 1. ผ่อนคลายการควบคุม 2. มีการกระจายอำนาจให้ส่วนราชการ 3. สะดวกคล่องตัวในการเบิกจ่าย 4. การบริหารงานสำเร็จ รวดเร็ว 5. เป็นส่วนเสริมภารกิจ กรณีเงินในงบประมาณได้รับการจักสรรไม่เพียงพอ

  18. การบัญชี/และการตรวจสอบการบัญชี/และการตรวจสอบ เงินนอกงบประมาณ การตรวจสอบงบทดลองและการตรวจสอบรายงานต่าง ๆ ในระบบ GFMIS

  19. เงินนอกงบประมาณ รับเงินนอก งบประมาณ RP ลงบัญชี เก็บรักษา เอกสาร GL RP นำฝาก อย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง ฝากคลัง ฝากธนาคาร

  20. เงินนอกงบประมาณ ฝากคลัง ขอเบิก AP GL รับเงิน ลงบัญชี เอกสาร AP จ่ายเงิน

  21. การควบคุมเงินนอกงบประมาณการควบคุมเงินนอกงบประมาณ ใช้ทะเบียนคุมบัญชีแยกประเภท บันทึกควบคุมการรับ และจ่ายเงินนอกงบประมาณโดยแยกตามประเภทและรหัสบัญชีย่อยของเงิน ทะเบียนคุมใช้เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบยืนยันความถูกต้องในการบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS

  22. รหัสที่แยกข้อมูลการปฏิบัติงานในระบบ GFMISระหว่างเงินในงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ ในระบบ GFMIS

  23. ตัวอย่างการขอเบิกเงินตัวอย่างการขอเบิกเงิน แตกต่างที่รหัสงบประมาณ เงินนอก งบประมาณ เงินในงบประมาณ จำนวนเงิน xxx ศูนย์ต้นทุน 2500700724 แหล่งของเงิน 5711230 กิจกรรมหลัก 250074000I4963 กิจกรรมย่อย 4000I4963326 รหัสงบประมาณ 2500731701000000 จำนวนเงิน xxx ศูนย์ต้นทุน 2500700724 แหล่งของเงิน 5726000 กิจกรรมหลัก P4000 กิจกรรมย่อย รหัสงบประมาณ 25007

  24. แตกต่างที่ประเภทเอกสารแตกต่างที่ประเภทเอกสาร KA- เบิกเงินใน-จ่ายตรงอ้าง PO KB- เงินใน(กัน)จ่ายตรง Po KC- เงินในจ่ายตรงภายนอกไม่ PO KD-เงินใน(กัน)จ่ายตรงภายนอก ไม่ PO KE- เงินในจ่ายภายนอกผ่านส่วนราชการไม่ PO KF- เงินใน(กัน)จ่ายภายนอกผ่านส่วนราชการไม่ PO K0 – เงินในเงินเดือนและเงินที่กำหนดจ่ายตอนสิ้นเดือน KL- เงินในใบสำคัญจ่ายผ่านส่วนราชการไม่ PO KM-เงินใน(กัน)ใบสำคัญจ่ายผ่านส่วนราชการไม่ PO KG- เบิกเงินนอกฝากคลังจ่ายตรงภายนอกอ้าง PO KH- เงินนอกฝากคลังจ่ายตรงภายนอกไม่ Po KI- เงินนอกฝากคลังจ่ายภายนอกผ่านส่วนราชการไม่ PO KJ- เงินนอกที่ไม่ฝากคลังจ่ายตรงภายนอกอ้าง PO KK- เงินนอกที่ไม่ฝากคลังจ่ายตรง ภายนอก ไม่ PO KN- เงินนอกที่ฝากคลัง(ใบสำคัญ)จ่ายผ่านส่วนราชการไม่ PO

  25. การลงบัญชีในระบบ GFMIS

  26. การลงบัญชีในระบบ GFMIS (ต่อ)

  27. การลงบัญชีในระบบ GFMIS (ต่อ)

  28. การลงบัญชีในระบบ GFMIS (ต่อ)

  29. การตรวจสอบการบันทึกรายการการตรวจสอบการบันทึกรายการ บัญชีแยกประเภท • - นส 02-1 นส.02-2 • Pay in slip • - ใบรับเงิน - สำเนาใบเสร็จรับเงิน - นส.01 นส.03 บัญชีเงินสด รับรายได้ นำส่งเงิน RAเงินรายได้แผ่นดิน RBเงินนอก งปม.ฝากคลัง RCเงินรายได้แผ่นดินเก็บแทน RDเงินนอก งปม.ฝากคลังแทน BDเบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง R1เงินรายได้แผ่นดิน R2เงินนอก งปม.ฝากคลัง R3เงินรายได้แผ่นดินเก็บแทน R4เงินนอก งปม.ฝากคลังแทน B6เบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง งบทดลอง ZGL_MVT_MONTH

  30. การตรวจสอบงบทดลอง การกระทบยอดสมการบัญชี เงินนอกงบประมาณ จากงบทดลอง จับคู่บัญชีโดยใช้ข้อมูลจากช่องเดบิตและเครดิต เดบิต เครดิต เงินสด X เงิน ฝากคลัง x เงิน ฝากธนาคารนอกงบประมาณ x ฝากธนาคาร พานิชย์ (ออมทรัพย์ ประจำ) x เงินฝากไม่มีรายตัวรายตัว x ลูกหนี้เงินยืมนอกงบประมาณ x ค้างรับกรมบัญชีกลาง x ค่าใช้จ่ายระบุประเภทฯ x

  31. การตรวจสอบงบทดลอง เครดิต รายได้เงินนอกงบประมาณ 43xxxxxxx X หนี้สิน 21xxxxxxxx x เบิกเกินส่งคืนรอนำส่ง x หมายเหตุ : หนี้สินประกอบด้วย เงินรับฝากอื่น เงินประกันสัญญา เงินรับฝากเงินทุนหมุนเวียน ใบสำคัญค้างจ่าย และรายได้รอการรับรู้

  32. ตัวอย่างการกระทบยอด งบทดลองแสดงข้อมูลเงินนอกงบประมาณ ตรงกับประเภทเงินนอกงบประมาณของหน่วย เดบิตเงินฝากคลัง 7,479,432.74 เงินฝากออมทรัพย์ 550,000.00 เครดิตหนี้สิน(เงินรับฝากอื่น) 8,029,432.74

  33. งบทดลองแสดงข้อมูลเงินนอกงบประมาณที่สัมพันธ์กันงบทดลองแสดงข้อมูลเงินนอกงบประมาณที่สัมพันธ์กัน 7,479,432.74 + 550,000.00 8,029,432.74

  34. ตัวอย่างการกระทบยอด งบทดลองแสดงข้อมูลเงินนอกงบประมาณข้อมูลไม่สัมพันธ์กัน เดบิตเงินฝากคลัง 1,633,446.23 เงินฝากกระแสรายวัน 478.914.49 เงินฝากออมทรัพย์ 1,318,946.86 เครดิตหนี้สิน(เงินรับฝากอื่น)1,896,891.38 เงินประกันอื่น 88,759.85 รายได้รอการรับรู้ 3,407,568.69 3,431,307.58 5,393,219.89

  35. กรณีที่มีการบันทึกบัญชีที่ไม่ถูกต้องกรณีที่มีการบันทึกบัญชีที่ไม่ถูกต้อง 1,633,446.23 + 478,914.49 1,318,946.86 3,431,307.58

  36. 1,896,891.35 + 88,759.85 3,407,568.69 5,393,219.89

  37. การตรวจสอบงบทดลอง ตัวอย่าง กรณีการไม่บันทึกการรับเงินในระบบ GFMIS • หน่วยมีการรับเงินรับฝากเงินทุนหมุนเวียน(เงินกองทุนสืบสวนสอบสวนคดีอาญา ) และได้โอนขายบิลเงินกองทุนฯไปยัง กง. • หน่วยดำเนินการตามขั้นตอนตามระเบียบกำหนดยกเว้นขั้นตอนการรับเงินในระบบ GFMIS ผลที่ปรากฏในงบทดลองจากการ บันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วน

  38. แสดงยอดเงินสดติดลบ (2,856.88) กรณีไม่บันทึกขั้นตอนการรับเงิน (2,856.88) 0.00

  39. เงินรับฝากเงินทุนฯผิดดุล เนื่องจากไม่ได้บันทึกรับเงินแต่บันทึกส่งเงินและโอนเงินไปกองทุนฯ

  40. การตรวจสอบจากรายงานเคลื่อนไหวเงินฝากคลังการตรวจสอบจากรายงานเคลื่อนไหวเงินฝากคลัง ปรับเพิ่มเงินฝากคลัง RX และโอนเงินให้กองทุน RO

  41. เริ่มบันทึกขั้นตอนแรกนำส่งเงินไม่มีขั้นตอนการรับเงินเริ่มบันทึกขั้นตอนแรกนำส่งเงินไม่มีขั้นตอนการรับเงิน รายงานสมุดรายวันทั่วไป

  42. ข้อคลาดเคลื่อนที่ตรวจพบกรณีเงินนอกงบประมาณข้อคลาดเคลื่อนที่ตรวจพบกรณีเงินนอกงบประมาณ • การบันทึกรับเงินผิดประเภท หรือเลือกใช้รหัสบัญชีแยกประเภทไม่ถูกต้อง เช่น รับเงินรับฝากอื่นบันทึกเป็นเงินประกันอื่น • การบันทึกข้อมูลไม่ครบขั้นตอนที่กำหนด เช่น ไม่บันทึกรับ/ส่งเงิน หรือไม่บันทึกปรับปรุงลดยอดเงินกรณีของเงินบูรณะทรัพย์สินที่บันทึกไว้เป็นเงินรับฝากอื่น เมื่อดำเนินการตัดจ่ายเงินเรียบร้อยต้องบันทึกปรับปรุงลดยอดเงินรับฝากอื่นควบคู่กับค่าใช้จ่าย/สินทรัพย์ที่ได้จัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบแล้ว

  43. ข้อคลาดเคลื่อนที่ตรวจพบกรณีเงินนอกงบประมาณข้อคลาดเคลื่อนที่ตรวจพบกรณีเงินนอกงบประมาณ • บันทึกจ่ายเงินผิดประเภท เช่น ต้องการจ่ายเงินนอกงบประมาณ แหล่งของเงิน xx 2600 แต่บันทึกตัดจ่ายเป็นแหล่งของเงินงบประมาณ หรือบันทึกขอเบิกเงินโดยใช้รหัสผิดระหว่างเงินในและเงินนอกงบประมาณ • หน่วยจัดทำงบกระทบยอดเงินฝากธนาคารไม่ถูกต้อง ระหว่างเงินฝากธนาคารเงินนอกงบประมาณ รหัสบัญชีแยกประเภท 1101020604 และบัญชีเงินนอกงบประมาณที่ฝากธนาคารพานิชย์ • หน่วยมีเงินนอกงบประมาณหลายบัญชีและจัดทำงบกระทบยอดไม่ครบทุกบัญชี ตามเกณฑ์ประเมินถ้าทำไม่ครบจะไม่มีคะแนนในหัวข้อการประเมิน

  44. การปรับปรุงข้อคลาดเคลื่อนของเงินนอกงบประมาณการปรับปรุงข้อคลาดเคลื่อนของเงินนอกงบประมาณ • ดำเนินการตามที่หนังสือ กค ที่๐๔๒๓.๓/๖๐ ลง ๑๔กพ. ๒๕๕๖หนังสือ กค ที่ ๐๔๒๓.๓/ว๑๗๓ ลง ๑๐ พ.ค. ๒๕๕๖ ให้จัดทำใบสำคัญการปรับปรุงบัญชีทุกรายการ แยกตามปีงบประมาณ ยกเว้น ข้อคลาดเคลื่อนกรณีรับและนำเงินส่งธนาคาร ให้หากพบข้อคลาดเคลื่อนในวันทำการให้แจ้งประสานธนาคารแก้ไขให้ถูกต้อง หากพบภายในเดือนสามารถบันทึกแจ้งกรมบัญชีกลางภายในวันที่ ๑๐ ของเดือนถัดไปใช้แบบฟอร์มตาม ไม่ต้องทำใบสำคัญปรับปรุงบัญชี แต่หากเลยห้วงเวลาที่กำหนด หน่วยต้องปรับปรุงด้วยตนเอง ตามหนังสือ กค ๐๔๒๓.๓/ว ๖๑ ลง ๑๔ กพ.๒๕๕๖ ,หนังสือ กค.๐๔๒๓.๓/ว ๖๕ ลง๑๘ กพ.๒๕๕๖และหนังสือ กค ๐๔๒๓.๓/ว๘๙ ลง ๗ มี.ค.๒๕๕๖

  45. การปรับปรุงข้อคลาดเคลื่อนของเงินนอกงบประมาณการปรับปรุงข้อคลาดเคลื่อนของเงินนอกงบประมาณ • ตร. กำหนดให้ดำเนินการเกี่ยวกับการปรับปรุง ดังนี้ • ข้อคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นในปีปัจจุบันให้หน่วยดำเนินการและจัดเก็บใบสำคัญการปรับปรุงบัญชีเพื่อการตรวจสอบ • ข้อคลาดเคลื่อนของปีงบประมาณก่อน ให้หน่วยตรวจสอบข้อมูลเพื่อหาสาเหตุพร้อมจัดทำใบสำคัญการปรับปรุงบัญชีแยกตามปีงบประมาณส่งให้ กช.สงป.ดำเนินการ

  46. แบบฟอร์มการปรับปรุงบัญชีแบบฟอร์มการปรับปรุงบัญชี

  47. จบการนำเสนอ... ขอบคุณค่ะ

More Related