70 likes | 239 Views
สรุป ปัญหาเด็กพิเศษใน ประเทศไทย. สถิติทางการแพทย์ ตาม criteria DSM 4. พบบกพร่องทางการเรียนรู้ ร้อยละ 5 - 5.6 ของนักเรียนระดับประถมศึกษา พบ บกพร่องทางการเรียนรู้ ร้อยละ 1 – 3 ของประชากร พบ พัฒนาการทางภาษาล่าช้า ในระดับอนุบาลและชั้นประถมศึกษา ร้อยละ 4 -5 *
E N D
สรุปปัญหาเด็กพิเศษในประเทศไทยสรุปปัญหาเด็กพิเศษในประเทศไทย
สถิติทางการแพทย์ ตาม criteria DSM 4 • พบบกพร่องทางการเรียนรู้ร้อยละ 5 - 5.6 ของนักเรียนระดับประถมศึกษา • พบ บกพร่องทางการเรียนรู้ ร้อยละ 1 – 3 ของประชากร • พบ พัฒนาการทางภาษาล่าช้า ในระดับอนุบาลและชั้นประถมศึกษา ร้อยละ 4 -5 * • พบปัญหาพัฒนาการล่าช้า ช่วงอายุ 1 -3 ปี ร้อยละ 23.6*(พ.ศ.2547 - ใช้แบบทดสอบ CAT/CLAM ของ Capute scale) • พบเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการล่าช้าร้อยละ 28.3 ( ใช้ Denver II) โดยมีปัญหาในด้านการสื่อสารร้อยละ 13.6 ( พ.ศ.2542 กรมอนามัย ทั่วประเทศ) * โครงการวิจัยพัฒนาการแบบองค์รวมของเด็กไทย 2547 ทุน สกว)
ระดับสติปัญญา • ใช้ Raven Progressive Matrix จำนวน 4000 คน ทั่วประเทศ พบค่าเฉลี่ย IQ 91 (โครงการสุขภาวะคนไทย พ.ศ.2539-40 สถาบันวิจัย สธ + มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ ) • ใช้ Test of non-verbal intelligence ( TONI-III ) 3 ed พ.ศ. 2547 พบค่าเฉลี่ย IQ 88.1 ( กทม IQ 90.7)
ข้อมูลจากแผนงานสุขภาวะเด็กและเยาวชน –สสส. พ.ศ.2547-9 ข้อมูลการศึกษา อายุ 6-7 ปีที่อยู่ในระบบ อ่านไม่ได้ เขียนไม่ได้ 1.7 ล้านคน ออกจาก รร กลางคัน 94,124 คน อายุ 6 -20 ปี ไม่อยู่ใน รร. 6.9 ล้านคน จำนวนนักเรียนที่สมัครสอบเข้ามหาวิทยาลัยคิดเป็นร้อยละ 13.5 ของจำนวนนักเรียนที่เข้าระบบการศึกษา ป1 ศธ. แจ้งยอดว่าพบเด็กอ่านไม่ได้ 7 แสนคน – พ.ศ.2550
จำนวนนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษจำนวนนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักนิเทศและพัฒนามาตรฐาน ศธ 2550
แบบทดสอบที่นิยมใช้ • Thai Achievement test ( 1996) • Thai writing speed test ( 1995 ) • IQ test ระบบการให้บริการแบบสหวิชาชีพ