460 likes | 523 Views
การวิเคราะห์ข้อมูล. น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ. ประเด็นหลักในการพิจารณาเลือกใช้สถิติทดสอบ. 1. จุดมุ่งหมายของการวิจัย 2. สมมติฐานของการวิจัย 3. ระดับการวัดของข้อมูล จำนวนของกลุ่มตัวอย่าง ลักษณะการเป็นอิสระของข้อมูล. ประเภทของสถิติ. สถิติเชิงอนุมาน.
E N D
การวิเคราะห์ข้อมูล น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
ประเด็นหลักในการพิจารณาเลือกใช้สถิติทดสอบประเด็นหลักในการพิจารณาเลือกใช้สถิติทดสอบ • 1. จุดมุ่งหมายของการวิจัย • 2. สมมติฐานของการวิจัย • 3. ระดับการวัดของข้อมูล • จำนวนของกลุ่มตัวอย่าง • ลักษณะการเป็นอิสระของข้อมูล
ประเภทของสถิติ สถิติเชิงอนุมาน สถิติเชิงพรรณนา Mean Mode Variance SD Non Parametric Parametric t-test ANOVA ANCOVA Factor Analysis Pearson’s Correlation Nominal Ordinal Chi Square Median Test Sign Test Spearman Mann-Whitney Wilcoxon
ประเภทของสถิติ การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง ประชากร (N) สถิติอนุมาน ค่าพารามิเตอร์ ค่าสถิติ การประมาณค่าประชากร การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ
สถิติเชิงพรรณนา, สถิติเชิงอนุมาน • สถิติเชิงพรรณา (Descriptive Statistics) ใช้กับกลุ่มประชากรได้แก่ Mean, Mode, Median, Variance,Standard Deviation เป็นต้น • สถิติเชิงอนุมาน (Inference Statistics) เป็นการนำผลข้อมูลที่เก็บมาได้จากกลุ่มตัวอย่าง ไปใช้อ้างอิงหรืออธิบายกลุ่มประชากร ได้แก่ การประเมินค่าพารามิเตอร์ในประชากร (Estimation) และการทดสอบสมมุติฐาน (Hypothesis Testing) แบ่งออกเป็น Parametric และ Non parametric statistics
Parametric Statistics • คือ สถิติที่ใช้กับข้อมูลที่มีการแจกแจงแบบโค้งปกติ มีระดับการวัดแบบ Ratio หรือ Interval scale เช่น • t-test, ANOVA, Correlation, Multiple Regression เป็นต้น
Non Parametric Statistics • คือ สถิติที่ใช้กับข้อมูลที่ไม่เข้าเงื่อนไขของ Parametric • มีระดับ การวัดแบบ Ordinal และ Nominal Scale • วิเคราะห์โดยการใช้วิธี Chi Square, Log Rank Test, Mann Whitney, Wilcoxon เป็นต้น
แสดงการใช้สถิติพรรณนาและสถิติอนุมานในงานวิจัยแสดงการใช้สถิติพรรณนาและสถิติอนุมานในงานวิจัย ประชากร ค่าพารามิเตอร์ สุ่ม ตัวอย่าง สถิติพรรณนา ค่าสถิติ สถิติอนุมาน
ความหมาย ....สมมติฐาน คือ ข้อความที่คาดคะเนคำตอบเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งไว้ล่วงหน้า โดยการคาดคะเนจะอาศัยหลักการ ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง หรือประสบการณ์ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ
การทดสอบสมมติฐาน (Test of Hypotheses) เป็นวิธีการตัดสินใจเกี่ยวกับสมมติฐานโดยอาศัยเกณฑ์บางอย่างเข้าช่วย โดยทั่วไปจะใช้วิธีการทางสถิติกับข้อมูลที่ได้มาจากตัวอย่าง แล้วพิจารณาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น มี 2 แบบ • การทดสอบแบบหางเดียว (One tailed Test) คือการทดสอบว่าค่าพารามิเตอร์มีค่ามากกว่า หรือน้อยกว่าค่าที่กำหนด โดยสังเกตได้จากใน H1 หรือ Ha จะมีเครื่องหมาย > หรือ < (ถ้าเป็น > จะเรียกว่าทดสอบแบบหางเดียวด้านขวา แต่ถ้าเป็น < จะเรียกว่า ทดสอบแบบหางเดียวด้านซ้าย) • การทดสอบแบบ 2 หาง (Two tailed Test) คือการทดสอบว่าค่าพารามิเตอร์มีค่าเท่ากับค่าที่กำหนดหรือไม่ (สังเกตจากใน H1 หรือ Ha จะมีเครื่องหมาย =)
การทดสอบสมมติฐาน • การปฏิเสธสมมติฐาน • การยอมรับสมมติฐาน • ความเชื่อมั่นของการทดสอบสมมติฐานว่ามี ความถูกต้องเชื่อถือได้เป็นร้อยละเท่าใด • ความผิดพลาดที่ยอมรับได้เป็นร้อยละเท่าใด
ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน 1. ตั้งสมมติฐาน H0และ H1 2. กำหนดค่าที่นิยม คือ .05 และ .01 3. คำนวณค่าสถิติ 4. เปรียบเทียบค่า sig. กับ
5. สรุปผลการทดสอบ 5.1 ยอมรับ H0 ( Accept H0 ) : ถ้าค่าสถิติที่คำนวณตกอยู่ในเขตยอมรับ 5.2 ปฏิเสธH0 ยอมรับ H1 ( Reject H0 ) : ถ้าค่าสถิติที่คำนวณตกอยู่ในเขตวิกฤต
การตั้งสมมติฐาน • สมมติฐานหลัก หรือสมมติฐานว่าง (null hypothesis) สมมติฐานที่ต้องการทดสอบแสดงความไม่แตกต่าง หรือความเท่ากันของพารามิเตอร์
การตั้งสมมติฐาน • สมมติฐานรอง หรือสมมติฐานแย้ง หรือสมมติฐานทางเลือก (alternative hypothesis) สมมติฐานที่มีลักษณะตรงข้ามหรือแตกต่างจากสมมติฐานว่างที่ต้องการทดสอบในลักษณะไม่เท่ากับ หรือ น้อยกว่า หรือ มากกว่า อย่างใดอย่างหนึ่งตามการคาดคะเนของผู้ศึกษา
ประเภทของสมมติฐาน 1. สมมติฐานทางการวิจัย (Research H.) 2. สมมติฐานทางสถิติ (Statistical H.)
รูปแบบการเขียนสมมติฐานรูปแบบการเขียนสมมติฐาน • เขียนในรูปข้อความของภาษา • เขียนในรูปแบบของคณิตศาสตร์
1. สมมติฐานทางการวิจัย (Research H.) 1.1 แบบมีทิศทาง (Directional H.) : สูงกว่า, มากกว่า/น้อยกว่า 1.2 แบบไม่มีทิศทาง (Non - Directional H.) : แตกต่าง/ไม่แตกต่างกัน, สัมพันธ์/ไม่สัมพันธ์กัน
ตัวอย่างที่ 1 หญิงตั้งครรภ์กลุ่มที่ได้รับการอบรมเรื่องการเตรียมตัวของมารดาก่อนและหลังคลอดจะมีความรู้และวิธีการปฏิบัติตนถูกต้องสูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับการอบรม ตัวแปรต้น : การได้รับการอบรม ฯ ตัวแปรตาม 1) ความรู้ของหญิงตั้งครรภ์ 2) วิธีการปฏิบัติตน ฯ
ตัวอย่างที่ 2 การตายของทารก มี ความสัมพันธ์ กับ การวางแผนครอบครัว และภาวะเจริญพันธุ์ ตัวแปรต้น : การตายของทารก ตัวแปรตาม 1) การวางแผนครอบครัว 2) ภาวะเจริญพันธ์
ตัวอย่างที่ 3 การใช้ผงน้ำตาลเกลือแร่รักษาโรค อุจจาระร่วง ในผู้สูงอายุให้ผลแตกต่างกับ การให้น้ำเกลือทางเส้นเลือดดำ ตัวแปรต้น : รูปแบบของการรักษา ตัวแปรตาม : ระยะเวลาการหายของโรค
ตัวอย่างที่ 4 การสูบบุหรี่มีความสัมพันธ์ทางบวก กับการเป็นโรคมะเร็งปอด ตัวแปรต้น : การสูบบุหรี่ ตัวแปรตาม : การเป็นโรคมะเร็งปอด
2. สมมติฐานทางสถิติ (Statistical H.) 2.1 สมมติฐานกลาง/สมมติฐานไร้นัยสำคัญ (Null H.) = H0 2.2 สมมติฐานอื่น (Alternative H.) = H1
กรณี ประชากร 1 กลุ่ม เปรียบเทียบค่าพารามิเตอร์กับค่าคงที่
เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยประชากรกับค่าคงที่เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยประชากรกับค่าคงที่
เปรียบเทียบสัดส่วนประชากรกับค่าคงที่เปรียบเทียบสัดส่วนประชากรกับค่าคงที่
เปรียบเทียบค่าพารามิเตอร์ ระหว่างประชากร 2 กลุ่ม
เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยประชากร 2 กลุ่ม
เปรียบเทียบสัดส่วนประชากร 2 กลุ่ม
ตัวอย่างที่ 5 ทัศนคติต่อการคุมกำเนิด มีความสัมพันธ์กับจำนวนบุตร ตัวแปรต้น : ทัศนคติต่อการคุมกำเนิด ตัวแปรตาม : จำนวนบุตร
สมมติฐานที่ดีมีหลักเกณฑ์ 2 ประการ 1. แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2. สามารถทดสอบได้โดยวิธีทางสถิติ
ค่าความน่าจะเป็น (P-value) • เป็นพื้นที่ใต้โค้งความน่าจะเป็นที่อยู่ภายใต้ความคลาดเคลื่อนแบบที่หนึ่ง (Type I Error) • ถ้าเป็นการทดสอบหางเดียวขวามือ จะเป็นพื้นที่ด้านขวา • ถ้าเป็นการทดสอบหางเดียวทางซ้าย จะเป็นพื้นที่ด้านซ้าย
ระดับนัยสำคัญ (Significance level) • ความน่าจะเป็นที่จะเกิดความผิดพลาดจากการปฏิเสธสมมติฐานศูนย์ เมื่อสมมติฐานศูนย์เป็นจริง • ผู้วิจัยเป็นผู้กำหนดเอง • นิยมกำหนด .01 หรือ .05 หรือ .10
บริเวณวิกฤต (critical region) • บริเวณของการปฏิเสธสมมติฐานศูนย์ เมื่อ สมมติฐานศูนย์เป็นจริง • หาได้จากการเปิดตารางหาค่าสถิติ • นำค่ามากำหนดบริเวณวิกฤตตามทิศทางของสมมติฐานทางเลือก
บริเวณวิกฤต (critical region) • นำค่าต่าง ๆ จากตัวอย่างที่เก็บจริงใน การวิจัยมาแทนค่าในสูตรสถิติทดสอบ เพื่อหาค่าสถิติที่ใช้ทดสอบ • ดูว่าค่าสถิติที่ได้ตกอยู่ในบริเวณวิกฤตหรือไม่ • ถ้าตกอยู่ในบริเวณวิกฤต สรุปได้ว่า ปฏิเสธ สมมติฐานศูนย์
ค่า P-value ในการทดสอบแบบหางเดียวทางซ้าย = 0.05 P-value = 0.1314 Z* = -1.12 ยอมรับ H0เพราะ P-value>
= 0.05 = 0.025 = 0.025 P-value / 2 = 0.0655 P-value / 2 = 0.0655 Z*2 = -1.51 Z*1 = 1.51 ค่า P-value ในการทดสอบ 2 ทาง ยอมรับ H0เพราะ P-value>
การสรุปผลการทดสอบ : - ผลการทดสอบ • ปฏิเสธสมมติฐานศูนย์ หมายความว่า ข้อมูลจากตัวอย่างมีความแตกต่างหรือสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(statistically significant difference) หรือเป็นไปตามสมมติฐานทางเลือก • ยอมรับ สมมติฐานศูนย์ หมายความว่า ยังไม่มีหลักฐานเพียงพอ หรือยังไม่เป็นไปตามสมมติฐานทางเลือก (not statistically significant difference) นำค่า p-value ไปเปรียบเทียบกับค่าแอลฟ่า ที่กำหนดไว้
การเลือกใช้สถิติสำหรับงานวิจัยเชิงทดลองการเลือกใช้สถิติสำหรับงานวิจัยเชิงทดลอง