1 / 17

เครื่องวัดชีพจรแบบไร้สาย W ireless Heart Rate Monitor

เครื่องวัดชีพจรแบบไร้สาย W ireless Heart Rate Monitor. รายงานโครงการหมายเลข EE2010/1-21 นาย ปฤณ ธีรมงคล รหัส 503040433-1 นาย วีรากร ฝ่าฝน รหัส 503040939-9. 1. หลักการและเหตุผล.

lesley-lane
Download Presentation

เครื่องวัดชีพจรแบบไร้สาย W ireless Heart Rate Monitor

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เครื่องวัดชีพจรแบบไร้สายWireless Heart Rate Monitor รายงานโครงการหมายเลข EE2010/1-21 นาย ปฤณ ธีรมงคล รหัส 503040433-1 นาย วีรากร ฝ่าฝน รหัส 503040939-9 1

  2. หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันเครื่องมือทางการแพทย์ต้องการความถูกต้องความแม่นยำ และความสะดวกรวดเร็วในการใช้งาน เป็นที่ต้องการอย่างมากสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ ทั้งนี้เป็นเพราะว่าเครื่องมือเหล่านี้มีส่วนต่อชีวิตของมนุษย์ แต่ในบางครั้งระยะทางที่ไกลเป็นเหตุที่ไม่เอื้ออำนวยความสะดวกรวดเร็วในการรักษาผู้ป่วย ในปัจจุบันจึงได้มีการพัฒนาอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีความพร้อมที่จะดูแล รักษาผู้ป่วยได้ทันท่วงที 2

  3. วัตถุประสงค์ • ศึกษาการส่งข้อมูลแบบไร้สายโดยใช้ Microwave Module • เขียนโปรแกรมรับส่งข้อมูล • เรียนรู้หลักการทำงานของเครื่องมือวัดทางการแพทย์ • ออกแบบวงจรวัดสัญญาณ ECG 3

  4. ขอบเขตการศึกษา • ออกแบบรูปแบบการทำงานของเครื่องส่งสัญญาณ • การใช้ตัวรับและตัวส่งสัญญาณ TRW-2.4G • ศึกษาการทำงานของเครื่องมือวัดชีพจร • เขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมตัว TRW-2.4G โดยใช้ Microcontroller • ทำการส่งสัญญาณและแก้ไขการทำงานให้มีประสิทธิภาพสูงสุด 4

  5. ผลที่คาดว่าจะได้รับ • ทำการรับ-ส่งสัญญาณอย่างมีประสิทธิภาพ • ได้เรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือทางการแพทย์ • ได้เรียนรู้กับการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นต่างๆในการทำโปรเจค • ได้ทำการออกแบบวงจรECG • เขียนโปรแกรมควบคุมภายใน ไมโครคอนโทลเลอร์เพื่อควบคุมภาครับและภาคส่ง และทำให้โปรแกรมทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ 5

  6. เครื่องวัดชีพจรแบบไร้สายเครื่องวัดชีพจรแบบไร้สาย 6

  7. โครงสร้างการรับส่งสัญญาณโครงสร้างการรับส่งสัญญาณ 7

  8. TRW-2.4G 8

  9. Transmit Mode • ใช้ Pin - CE, CLK1, DATA • เมื่อมี data จะส่ง CE จะถูกเซ็ตเป็น high • Microcontroller จะโหลด address, payload data • หลังจากนั้นจะคำนวณ CRC • preamble 9

  10. Receive Mode • ใช้ Pin – CE, CLK1, DATA, DR1 • เซ็ต CE เป็น high TRW-2.4G จะค้นหาสัญญาณจากTx • เมื่อได้รับ package ที่ถูกต้อง TRW-2.4G จะทำการตัดสัญญาณ preamble, address, CRC • TRW-2.4G จะส่ง interrupt จาก pin DR1 ไปยัง Microcontroller • Microcontroller จะ clock แต่ payload data ออกมา 10

  11. ECG - Electrocardiography • ทาแขนที่จะต่อเข้าอิเล็กโทรดด้วยเกลือเพื่อลดความต้านทานของผิวหนัง • ต่ออิเล็กโทรดเข้าที่แขนสองข้างที่ต่อกับ Instrument amplifier • ทำการวัดค่า อ่านค่าจากกราฟ 11

  12. ECG - Electrocardiography Instrument amplifier circuit การวัดชีพจร Gain ของวงจรที่ใช้วัดสัญญาณ ECG มีค่าเป็น 10,500 เท่า 12

  13. คลื่นสัญญาณECGที่วัดได้จากการทดลองคลื่นสัญญาณECGที่วัดได้จากการทดลอง 13

  14. การทดลองรับส่งสัญญาณ 14

  15. เครื่องส่งและเครื่องรับเครื่องส่งและเครื่องรับ

  16. ปัญหาที่พบและแนวทางแก้ไขปัญหาที่พบและแนวทางแก้ไข • การเขียนโปรแกรม Configuration ของ TRW-2.4G มีความซับซ้อน จึงใช้เวลาในส่วนนี้มากกว่าที่วางแผนเอาไว้ • วงจร Instrument amplifier ที่ใช้วัดสัญญาณ ECG พบปัญหา จึงได้ทำการปรับแก้วงจรแต่ก็ยังไม่สามารถเอาสัญญาณที่ได้มาคำนวณ จึงต้องสร้างสัญญาณ pulse ที่มีความถี่ใกล้เคียงกับสัญญาณชีพจร เพื่อทำการทดสอบการรับส่งข้อมูล 16

  17. สรุป โครงการนี้เป็นโครงการที่ทำการออกแบบและสร้างเครื่องส่งสัญญาณที่จะช่วยส่งอัตราการเต้นของหัวใจ โดยเป็นการนำเอาเครื่องส่งสัญญาณไมโครเวฟมาเป็นตัวรับและตัวส่ง และทำการออกแบบวงจร Instrument amp เพื่อวัดสัญญาณ ECG 17

More Related