1 / 30

ข้อสังเกตเกี่ยวกับ มาตรฐานแรงงานภายในประเทศ กับมาตรฐานแรงงานของ ILO

ข้อสังเกตเกี่ยวกับ มาตรฐานแรงงานภายในประเทศ กับมาตรฐานแรงงานของ ILO. โดย นางสาวอังคณา เตชะโกเมนท์ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ. การให้สัตยาบันอนุสัญญา ILO ของประเทศไทย. การปฏิบัติตามบทบัญญัติ ของอนุสัญญา. ตั้งข้อสังเกต. ตรวจสอบ. จัดทำรายงาน. คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญด้านการปฏิบัติตาม

Download Presentation

ข้อสังเกตเกี่ยวกับ มาตรฐานแรงงานภายในประเทศ กับมาตรฐานแรงงานของ ILO

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อสังเกตเกี่ยวกับมาตรฐานแรงงานภายในประเทศกับมาตรฐานแรงงานของ ILO โดย นางสาวอังคณา เตชะโกเมนท์ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ

  2. การให้สัตยาบันอนุสัญญา ILO ของประเทศไทย การปฏิบัติตามบทบัญญัติ ของอนุสัญญา ตั้งข้อสังเกต ตรวจสอบ จัดทำรายงาน คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญด้านการปฏิบัติตาม อนุสัญญาที่ให้สัตยาบันแล้วและข้อแนะของ ILO กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๑ Here comes your footer  Page 2

  3. อนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศที่ประเทศไทยให้สัตยาบันแล้วอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศที่ประเทศไทยให้สัตยาบันแล้ว • อนุสัญญาฉบับที่ 116 ว่าด้วยการแก้ไขบทบัญญัติท้ายบท • อนุสัญญาฉบับที่ 122 ว่าด้วยนโยบายการมีงานทำ • อนุสัญญาฉบับที่ 123 ว่าด้วยอายุขั้นต่ำ (เหมืองใต้ดิน) • อนุสัญญาฉบับที่ 127 ว่าด้วยน้ำหนักสูงสุด • อนุสัญญาฉบับที่ 138 ว่าด้วยอายุขั้นต่ำ • อนุสัญญาฉบับที่ 159 ว่าด้วยการจ้างงานและการฟื้นฟูอาชีพ (คนพิการ) • อนุสัญญาฉบับที่ 182 ว่าด้วยรูปแบบที่เลวร้ายที่สุดของการใช้แรงงานเด็ก • อนุสัญญาฉบับที่ 14 ว่าด้วยการหยุดพัก ประจำสัปดาห์ (ภาคอุตสาหกรรม) • อนุสัญญาฉบับที่ 19 ว่าด้วยการปฏิบัติที่ เท่าเทียมกัน (ค่าทดแทนกรณีเกิดอุบัติเหตุ) • อนุสัญญาฉบับที่ 29 ว่าด้วยแรงงานบังคับ • อนุสัญญาฉบับที่ 80 ว่าด้วยการแก้ไขบทบัญญัติท้ายบท • อนุสัญญาฉบับที่ 88 ว่าด้วยบริการจัดหางาน • อนุสัญญาฉบับที่ 100 ว่าด้วยค่าตอบแทนที่เท่ากัน • อนุสัญญาฉบับที่ 104 ว่าด้วยการยกเลิก การลงโทษทางอาญา (คนงานพื้นเมือง) • อนุสัญญาฉบับที่ 105 ว่าด้วยการยกเลิกแรงงานบังคับ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๒ Here comes your footer  Page 3

  4. อนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศที่ประเทศไทยให้สัตยาบันแล้วอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศที่ประเทศไทยให้สัตยาบันแล้ว • อนุสัญญาฉบับที่ 116 ว่าด้วยการแก้ไขบทบัญญัติท้ายบท • อนุสัญญาฉบับที่ 122 ว่าด้วยนโยบายการมีงานทำ • อนุสัญญาฉบับที่ 123 ว่าด้วยอายุขั้นต่ำ (เหมืองใต้ดิน) • อนุสัญญาฉบับที่ 127 ว่าด้วยน้ำหนักสูงสุด • อนุสัญญาฉบับที่ 138 ว่าด้วยอายุขั้นต่ำ • อนุสัญญาฉบับที่ 159 ว่าด้วยการจ้างงานและการฟื้นฟูอาชีพ (คนพิการ) • อนุสัญญาฉบับที่ 182 ว่าด้วยรูปแบบที่เลวร้ายที่สุดของการใช้แรงงานเด็ก • อนุสัญญาฉบับที่ 14 ว่าด้วยการหยุดพัก ประจำสัปดาห์ (ภาคอุตสาหกรรม) • อนุสัญญาฉบับที่ 19 ว่าด้วยการปฏิบัติที่ เท่าเทียมกัน (ค่าทดแทนกรณีเกิดอุบัติเหตุ) • อนุสัญญาฉบับที่ 29 ว่าด้วยแรงงานบังคับ • อนุสัญญาฉบับที่ 80 ว่าด้วยการแก้ไขบทบัญญัติท้ายบท • อนุสัญญาฉบับที่ 88 ว่าด้วยบริการจัดหางาน • อนุสัญญาฉบับที่ 100 ว่าด้วยค่าตอบแทนที่เท่ากัน • อนุสัญญาฉบับที่ 104 ว่าด้วยการยกเลิก การลงโทษทางอาญา (คนงานพื้นเมือง) • อนุสัญญาฉบับที่ 105 ว่าด้วยการยกเลิกแรงงานบังคับ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๒ Here comes your footer  Page 4

  5. อนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศที่ประเทศไทยให้สัตยาบันแล้วอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศที่ประเทศไทยให้สัตยาบันแล้ว • อนุสัญญาฉบับที่ 116 ว่าด้วยการแก้ไขบทบัญญัติท้ายบท • อนุสัญญาฉบับที่ 122 ว่าด้วยนโยบายการมีงานทำ • อนุสัญญาฉบับที่ 123 ว่าด้วยอายุขั้นต่ำ (เหมืองใต้ดิน) • อนุสัญญาฉบับที่ 127 ว่าด้วยน้ำหนักสูงสุด • อนุสัญญาฉบับที่ 138 ว่าด้วยอายุขั้นต่ำ • อนุสัญญาฉบับที่ 159 ว่าด้วยการจ้างงานและการฟื้นฟูอาชีพ (คนพิการ) • อนุสัญญาฉบับที่ 182 ว่าด้วยรูปแบบที่เลวร้ายที่สุดของการใช้แรงงานเด็ก • อนุสัญญาฉบับที่ 14 ว่าด้วยการหยุดพัก ประจำสัปดาห์ (ภาคอุตสาหกรรม) • อนุสัญญาฉบับที่ 19 ว่าด้วยการปฏิบัติที่ เท่าเทียมกัน (ค่าทดแทนกรณีเกิดอุบัติเหตุ) • อนุสัญญาฉบับที่ 29 ว่าด้วยแรงงานบังคับ • อนุสัญญาฉบับที่ 80 ว่าด้วยการแก้ไขบทบัญญัติท้ายบท • อนุสัญญาฉบับที่ 88 ว่าด้วยบริการจัดหางาน • อนุสัญญาฉบับที่ 100 ว่าด้วยค่าตอบแทนที่เท่ากัน • อนุสัญญาฉบับที่ 104 ว่าด้วยการยกเลิก การลงโทษทางอาญา (คนงานพื้นเมือง) • อนุสัญญาฉบับที่ 105 ว่าด้วยการยกเลิกแรงงานบังคับ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๒ Here comes your footer  Page 5

  6. อนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศที่ประเทศไทยให้สัตยาบันแล้วอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศที่ประเทศไทยให้สัตยาบันแล้ว • อนุสัญญาฉบับที่ 116 ว่าด้วยการแก้ไขบทบัญญัติท้ายบท • อนุสัญญาฉบับที่ 122 ว่าด้วยนโยบายการมีงานทำ • อนุสัญญาฉบับที่ 123 ว่าด้วยอายุขั้นต่ำ (เหมืองใต้ดิน) • อนุสัญญาฉบับที่ 127 ว่าด้วยน้ำหนักสูงสุด • อนุสัญญาฉบับที่ 138 ว่าด้วยอายุขั้นต่ำ • อนุสัญญาฉบับที่ 159 ว่าด้วยการจ้างงานและการฟื้นฟูอาชีพ (คนพิการ) • อนุสัญญาฉบับที่ 182 ว่าด้วยรูปแบบที่เลวร้ายที่สุดของการใช้แรงงานเด็ก • อนุสัญญาฉบับที่ 14 ว่าด้วยการหยุดพัก ประจำสัปดาห์ (ภาคอุตสาหกรรม) • อนุสัญญาฉบับที่ 19 ว่าด้วยการปฏิบัติที่ เท่าเทียมกัน (ค่าทดแทนกรณีเกิดอุบัติเหตุ) • อนุสัญญาฉบับที่ 29 ว่าด้วยแรงงานบังคับ • อนุสัญญาฉบับที่ 80 ว่าด้วยการแก้ไขบทบัญญัติท้ายบท • อนุสัญญาฉบับที่ 88 ว่าด้วยบริการจัดหางาน • อนุสัญญาฉบับที่ 100 ว่าด้วยค่าตอบแทนที่เท่ากัน • อนุสัญญาฉบับที่ 104 ว่าด้วยการยกเลิก การลงโทษทางอาญา (คนงานพื้นเมือง) • อนุสัญญาฉบับที่ 105 ว่าด้วยการยกเลิกแรงงานบังคับ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๒ Here comes your footer  Page 6

  7. อนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศที่ประเทศไทยให้สัตยาบันแล้วอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศที่ประเทศไทยให้สัตยาบันแล้ว • อนุสัญญาฉบับที่ 116 ว่าด้วยการแก้ไขบทบัญญัติท้ายบท • อนุสัญญาฉบับที่ 122 ว่าด้วยนโยบายการมีงานทำ • อนุสัญญาฉบับที่ 123 ว่าด้วยอายุขั้นต่ำ (เหมืองใต้ดิน) • อนุสัญญาฉบับที่ 127 ว่าด้วยน้ำหนักสูงสุด • อนุสัญญาฉบับที่ 138 ว่าด้วยอายุขั้นต่ำ • อนุสัญญาฉบับที่ 159 ว่าด้วยการจ้างงานและการฟื้นฟูอาชีพ (คนพิการ) • อนุสัญญาฉบับที่ 182 ว่าด้วยรูปแบบที่เลวร้ายที่สุดของการใช้แรงงานเด็ก • อนุสัญญาฉบับที่ 14 ว่าด้วยการหยุดพัก ประจำสัปดาห์ (ภาคอุตสาหกรรม) • อนุสัญญาฉบับที่ 19 ว่าด้วยการปฏิบัติที่ เท่าเทียมกัน (ค่าทดแทนกรณีเกิดอุบัติเหตุ) • อนุสัญญาฉบับที่ 29 ว่าด้วยแรงงานบังคับ • อนุสัญญาฉบับที่ 80 ว่าด้วยการแก้ไขบทบัญญัติท้ายบท • อนุสัญญาฉบับที่ 88 ว่าด้วยบริการจัดหางาน • อนุสัญญาฉบับที่ 100 ว่าด้วยค่าตอบแทนที่เท่ากัน • อนุสัญญาฉบับที่ 104 ว่าด้วยการยกเลิก การลงโทษทางอาญา (คนงานพื้นเมือง) • อนุสัญญาฉบับที่ 105 ว่าด้วยการยกเลิกแรงงานบังคับ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๒ Here comes your footer  Page 7

  8. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๔ ว่าด้วยการหยุดพักประจำสัปดาห์ (งานอุตสาหกรรม) สาระสำคัญ • ลูกจ้างในกิจการอุตสาหกรรมทั้งของรัฐและเอกชนต้องมีวันหยุดอย่างน้อย ๒๔ ชั่วโมงติดต่อกันในทุก ๆ ระยะเวลา ๗ วัน • ถ้าเป็นไปได้ ให้เจ้าหน้าที่ในแต่ละสถานประกอบกิจการมีช่วงเวลาหยุดพักพร้อมกัน • ถ้าเป็นไปได้ให้กำหนดการหยุดพักประจำสัปดาห์ตรงกับช่วงที่ประเพณีหรือธรรมเนียมของประเทศหรือท้องถิ่นถือเป็นการหยุดประจำสัปดาห์ • รัฐสมาชิกสามารถยกเว้นการบังคับใช้บางส่วนของอนุสัญญากับคนงานบางกลุ่มได้ ภายหลังจากได้ปรึกษาหารือกับผู้แทนนายจ้างและผู้แทนคนงานที่เกี่ยวข้องแล้ว โดยต้องคำนึงถึง หลักมนุษยธรรมและความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๓ Here comes your footer  Page 8

  9. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๔ ว่าด้วยการหยุดพักประจำสัปดาห์ (งานอุตสาหกรรม) • มาตรา ๒๘ แห่ง พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานฯ กำหนดให้ลูกจ้างในงานขนส่ง งานในป่า งานในที่ทุรกันดาร และงานอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง สามารถตกลงกับนายจ้างล่วงหน้า เพื่อสะสมหรือเลื่อนวันหยุดประจำสัปดาห์ภายในระยะเวลาไม่เกินสี่สัปดาห์ อันคล้ายคลึงกับกฎกระทรวงแรงงานฉบับที่ ๗ เกี่ยวกับการคุ้มครองแรงงานในกิจการปิโตรเลียม ซึ่งนายจ้างและลูกจ้างสามารถตกลงกันกำหนดให้มีวันทำงานติดต่อกันได้ไม่เกิน ๒๘ วัน โดยนายจ้างต้องจัดให้มีวันหยุดประจำสัปดาห์หลังจากนั้นตามความเหมาะสม กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๔ Here comes your footer  Page 9

  10. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๔ ว่าด้วยการหยุดพักประจำสัปดาห์ (งานอุตสาหกรรม) • มาตรา ๒๘ แห่ง พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานฯ กำหนดให้ลูกจ้างในงานขนส่ง งานในป่า งานในที่ทุรกันดาร และงานอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง สามารถตกลงกับนายจ้างล่วงหน้า เพื่อสะสมหรือเลื่อนวันหยุดประจำสัปดาห์ภายในระยะเวลาไม่เกินสี่สัปดาห์ อันคล้ายคลึงกับกฎกระทรวงแรงงานฉบับที่ ๗ เกี่ยวกับการคุ้มครองแรงงานในกิจการปิโตรเลียม ซึ่งนายจ้างและลูกจ้างสามารถตกลงกันกำหนดให้มีวันทำงานติดต่อกันได้ไม่เกิน ๒๘ วัน โดยนายจ้างต้องจัดให้มีวันหยุดประจำสัปดาห์หลังจากนั้นตามความเหมาะสม ถึงแม้การกำหนดดังกล่าวจะไม่ขัดกับบทบัญญัติของอนุสัญญาอย่างชัดแจ้ง แต่การเลื่อนหรือการสะสมวันหยุดพักผ่อนประจำสัปดาห์โดยไม่มีเหตุอันควรในระยะยาวนั้น จะทำให้สิทธิคนงานด้านการหยุดพักผ่อนประจำสัปดาห์เสื่อมคุณค่าลง ซึ่งขัดกับเจตนารมณ์ในการมีอนุสัญญาฉบับนี้ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๔ Here comes your footer  Page 10

  11. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๔ ว่าด้วยการหยุดพักประจำสัปดาห์ (งานอุตสาหกรรม) • มาตรา ๒๕ แห่ง พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานฯ บัญญัติให้นายจ้างสามารถขอให้ลูกจ้างทำงาน ในวันหยุดพักผ่อนประจำสัปดาห์ได้ หากลักษณะหรือสภาพของงานนั้นต้องทำติดต่อกัน ถ้าหยุดจะเสียหายแก่งาน หรือเป็นกรณีฉุกเฉิน กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๕ Here comes your footer  Page 11

  12. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๔ ว่าด้วยการหยุดพักประจำสัปดาห์ (งานอุตสาหกรรม) • มาตรา ๒๕ แห่ง พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานฯ บัญญัติให้นายจ้างสามารถขอให้ลูกจ้างทำงาน ในวันหยุดพักผ่อนประจำสัปดาห์ได้ หากลักษณะหรือสภาพของงานนั้นต้องทำติดต่อกัน ถ้าหยุดจะเสียหายแก่งาน หรือเป็นกรณีฉุกเฉิน การจัดให้คนงานมีวันหยุดพักผ่อนประจำสัปดาห์เป็นหลักประกันขั้นพื้นฐานของ การปกป้องสุขภาพและสวัสดิการคนงาน และการยกเว้นใด ๆ จำเป็นต้องมีขีดจำกัด คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญฯ จึงขอให้ชี้แจงว่า ในการออกกฎหมายมาตรา ๒๕ ดังกล่าว รัฐบาลได้คำนึงเป็นพิเศษถึงประเด็นทางเศรษฐกิจและมนุษยธรรมโดยสมบูรณ์แล้วหรือไม่ และรัฐบาลได้ทำการปรึกษาหารือร่วมกับองค์กรของนายจ้างและของคนงานที่เกี่ยวข้องก่อน หรือไม่ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๕ Here comes your footer  Page 12

  13. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๔ ว่าด้วยการหยุดพักประจำสัปดาห์ (งานอุตสาหกรรม) • มาตรา ๖๔ บัญญัติให้นายจ้างต้องจ่ายค่าทำงานในวันหยุดและค่าล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่ลูกจ้างตามอัตราที่กำหนดไว้ในมาตรา ๖๒ (๑) และ (๒) และมาตรา ๖๓ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๖ Here comes your footer  Page 13

  14. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๔ ว่าด้วยการหยุดพักประจำสัปดาห์ (งานอุตสาหกรรม) • มาตรา ๖๔ บัญญัติให้นายจ้างต้องจ่ายค่าทำงานในวันหยุดและค่าล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่ลูกจ้างตามอัตราที่กำหนดไว้ในมาตรา ๖๒ (๑) และ (๒) และมาตรา ๖๓ พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานฯ ไม่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดวันหยุดพักผ่อนชดเชยให้แก่ลูกจ้าง ในกรณีที่นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห์ กฎหมายกำหนดแต่เพียงการชดเชยที่เป็นตัวเงินเท่านั้น รัฐต้องกำหนดให้มีวันหยุดพักผ่อนชดเชยในกรณีที่มีการเลื่อนหรือการลดระยะเวลาการหยุดพักผ่อนประจำสัปดาห์ของลูกจ้าง ไม่ว่าจะมีการจ่ายเงินชดเชยไปแล้วหรือไม่ก็ตาม กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๖ Here comes your footer  Page 14

  15. อนุสัญญาฉบับที่ ๒๙ ว่าด้วยแรงงานบังคับ สาระสำคัญ • รัฐสมาชิกต้องปราบปรามการใช้แรงงานบังคับหรือการเกณฑ์แรงงานทุกรูปแบบ และต้องไม่อนุญาตให้มีการใช้แรงงานบังคับหรือเกณฑ์แรงงานเพื่อผลประโยชน์ของเอกชน • คำว่า “แรงงานบังคับหรือการเกณฑ์แรงงาน” ต้องหมายถึง งานหรือบริการทุกชนิด ซึ่งบีบบังคับเอาจากบุคคลใด ๆ โดยการใช้บทลงโทษ และบุคคลดังกล่าวนั้นมิได้สมัครใจที่จะทำเอง ยกเว้นการใช้แรงงานบังคับหรือเกณฑ์แรงงานในลักษณะของ • งานหรือบริการใด ๆ อันมีลักษณะทางการทหารอย่างแท้จริง ภายใต้กฎหมายเกี่ยวกับการเกณฑ์ทหาร • งานหรือบริการใด ๆ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของหน้าที่พลเมือง • งานหรือบริการใด ๆ ซึ่งบุคคลกระทำไปตามการพิพากษาลงโทษของศาลยุติธรรม • งานหรือบริการใด ๆ ซึ่งกระทำเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน • บริการต่าง ๆ เพื่อชุมชนตามหน้าที่พลเมืองในฐานะสมาชิกของชุมชน กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๗ Here comes your footer  Page 15

  16. ข้อมูลด้านมาตรการป้องกันและคุ้มครองการค้ามนุษย์ การบังคับใช้ พ.ร.บ. มาตรการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.๒๕๔๐ การดำเนินคดีใด ๆ เกี่ยวกับการค้ามนุษย์ อนุสัญญาฉบับที่ ๒๙ ว่าด้วยแรงงานบังคับ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๘ Here comes your footer  Page 16

  17. รัฐสมาชิกต้องปราบปราบและไม่ใช้รูปแบบใด ๆ ของการเกณฑ์แรงงานหรือแรงงานบังคับเพื่อ (ก) การข่มขู่ทางการเมือง หรือเป็นการลงโทษต่อการแสดงออกซึ่งความคิดเห็นทาง การเมือง หรือการยึดถืออุดมการณ์ ซึ่งขัดกับระบบการเมือง สังคม หรือเศรษฐกิจที่มีอยู่ (ข) การระดมและการใช้แรงงานเพื่อวัตถุประสงค์แห่งการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (ค) การควบคุมวินัยของคนงาน (ง) การลงโทษต่อการมีส่วนร่วมในการนัดหยุดงาน (จ) การเลือกปฏิบัติอันเนื่องจากเชื้อชาติ สังคม สัญชาติ หรือศาสนา อนุสัญญาฉบับที่ ๑๐๕ ว่าด้วยการยกเลิกแรงงานบังคับ สาระสำคัญ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๙ Here comes your footer  Page 17

  18. มาตรา ๑๓๙ แห่ง พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ์ฯ อ่านประกอบมาตรา ๓๔ (๕): เมื่อเรื่องอยู่ระหว่างการวินิจฉัยของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ หรือมีคำวินิจฉัยของรัฐมนตรีตามมาตรา ๒๓ (๑) (๒) (๖) หรือ (๘) หรือของคณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์ตามมาตรา ๒๔ มาตรา ๑๔๐ แห่ง พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ์ฯ อ่านประกอบมาตรา ๓๕ (๒): เมื่อรัฐมนตรีสั่งให้ผู้ซึ่งนัดหยุดงานกลับเข้าทำงานตามปกติ หากเห็นว่า การนัดหยุดงานนั้นอาจส่งผลต่อเศรษฐกิจของประเทศ หรือก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชน หรือเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชน มาตรา ๗๗ แห่ง พ.ร.บ. แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ฯ บัญญัติให้ผู้ฝ่าฝืนมาตรา ๓๓ (ห้ามการนัดหยุดงานในกิจการรัฐวิสาหกิจ) ต้องรับโทษจำคุก ไม่เกิน ๑ ปี โดยผู้ที่ยุยงปลุกปั่นให้มีโทษจำคุกเพิ่มอีกหนึ่งเท่า อนุสัญญาฉบับที่ ๑๐๕ ว่าด้วยการยกเลิกแรงงานบังคับ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๑๐ Here comes your footer  Page 18

  19. การบังคับให้ทำงานโดยใช้บทลงโทษต่อการใช้สิทธินัดหยุดงาน เป็นลักษณะหนึ่งของการเกณฑ์แรงงาน (ขัดกับมาตรา ๑ (ง) ของอนุสัญญา) คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญฯ จึงหวังว่าจะมีการทำให้บทบัญญัติดังกล่าวสอดคล้องกับอนุสัญญา โดยการดำเนินการใด ๆ ก็ตามที่สามารถยืนยันได้ว่า จะไม่ใช้บทลงโทษดังกล่าวกับการนัดหยุดงานโดยสงบ อนุสัญญาฉบับที่ ๑๐๕ ว่าด้วยการยกเลิกแรงงานบังคับ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๑๑ Here comes your footer  Page 19

  20. รัฐสมาชิกต้องกำหนดให้คนงานชายและหญิงได้รับค่าตอบแทนที่เท่าเทียมกันในงานที่มีค่าเท่ากัน โดยคำว่า “ค่าตอบแทน” ให้หมายความรวมถึง ค่าจ้างหรือเงินเดือนปกติ ค่าจ้างหรือเงินเดือนพื้นฐาน หรือค่าจ้างหรือเงินเดือนขั้นต่ำ และค่าตอบแทนเพิ่มเติมใดๆ ไม่ว่าจะเป็นเงินสดหรือสิ่งของที่นายจ้างจ่ายให้แก่คนงาน ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม ทั้งนี้ รัฐสมาชิกต้องส่งเสริมให้มี “การประเมินคุณค่างานอย่างเป็นกลาง” อนุสัญญาฉบับที่ ๑๐๐ ว่าด้วยค่าตอบแทนที่เท่ากัน สาระสำคัญ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๑๒ Here comes your footer  Page 20

  21. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๐๐ ว่าด้วยค่าตอบแทนที่เท่ากัน • มาตรา ๑๕ แห่ง พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานฯ บัญญัติ ให้นายจ้างปฏิบัติต่อลูกจ้างชายและหญิง โดยเท่าเทียมกันในการจ้างงาน เว้นแต่ลักษณะหรือสภาพของงานไม่อาจปฏิบัติเช่นนั้นได้ • มาตรา ๕๓ แห่ง พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานฯ บัญญัติให้นายจ้างกำหนดค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่ลูกจ้างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าลูกจ้างนั้นจะเป็นชายหรือหญิง ในกรณีที่งานมีลักษณะและคุณภาพอย่างเดียวกันและปริมาณเท่ากัน กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๑๓ Here comes your footer  Page 21

  22. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๐๐ ว่าด้วยค่าตอบแทนที่เท่ากัน • มาตรา ๑๕ แห่ง พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานฯ บัญญัติ ให้นายจ้างปฏิบัติต่อลูกจ้างชายและหญิง โดยเท่าเทียมกันในการจ้างงาน เว้นแต่ลักษณะหรือสภาพของงานไม่อาจปฏิบัติเช่นนั้นได้ • มาตรา ๕๓ แห่ง พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงานฯ บัญญัติให้นายจ้างกำหนดค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่ลูกจ้างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าลูกจ้างนั้นจะเป็นชายหรือหญิง ในกรณีที่งานมีลักษณะและคุณภาพอย่างเดียวกันและปริมาณเท่ากัน มาตรา ๕๓ กำหนดแต่เพียงประเด็นค่าจ้างที่เท่ากันของคนงานชายและหญิงที่ทำงานซึ่งมีลักษณะเหมือนกัน และมีคุณภาพและปริมาณงานเท่ากัน แต่ไม่ได้กำหนดให้งานที่ต่างชนิดแต่มีคุณค่าเท่ากันต้องได้รับค่าตอบแทนเท่ากัน จึงขอให้แก้ไขมาตรา ๕๓ เพื่อให้มั่นใจได้ว่า กฎหมายจะไม่กำหนดแต่เพียงเรื่อง ค่าตอบแทนที่เท่ากันของคนงานชายและหญิงที่ทำงานซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกันและมีคุณภาพและปริมาณงานเท่ากันเท่านั้น แต่ยังจะกำหนดเรื่อง ค่าตอบแทนที่เท่ากันสำหรับชายและหญิงทำงานที่แตกต่างกันแต่มีคุณค่าเท่ากันอีกด้วย กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๑๓ Here comes your footer  Page 22

  23. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๒๗ ว่าด้วยน้ำหนักสูงสุด สาระสำคัญ รัฐสมาชิกต้องกำหนดห้ามการทำงานขนส่งสิ่งของโดยใช้แรงกายอันอาจเป็นอันตรายต่อความปลอดภัยหรือสุขภาพอนามัยของคนงาน และรัฐสมาชิกต้องกำหนดน้ำหนักสูงสุดของสิ่งของที่คนงานคนหนึ่งจะสามารถขนส่งได้โดยใช้แรงกายของตน ทั้งนี้ น้ำหนักสูงสุดของสิ่งของสำหรับคนงานหญิงและคนงานผู้เยาว์ (อายุไม่เกิน ๑๘ ปี) ต้องน้อยกว่าน้ำหนักสูงสุดของสิ่งของสำหรับคนงานชาย รัฐสมาชิกต้องดำเนินการเพื่อให้แน่ใจว่า ก่อนการมอบหมายงานให้คนงานใดๆ ขนส่งสิ่งของที่มิใช่ของน้ำหนักเบาด้วยแรงกาย คนงานนั้นต้องได้รับการฝึกอบรมหรือได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการทำงานอย่างพอเพียง เพื่อความปลอดภัยของสุขภาพและการป้องกันอุบัติเหตุ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๑๔ Here comes your footer  Page 23

  24. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๒๗ ว่าด้วยน้ำหนักสูงสุด ไม่มีข้อสังเกตเรื่องการปฏิบัติตามอนุสัญญา มีเพียงการขอข้อมูลการบังคับใช้กฎกระทรวงกำหนดอัตราน้ำหนักที่นายจ้างให้ลูกจ้างทำงานได้ พ.ศ. ๒๕๔๗ และข้อ ๒๐ ของประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจ้างในรัฐวิสาหกิจ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๙ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๑๕ Here comes your footer  Page 24

  25. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๓๘ ว่าด้วยอายุขั้นต่ำ สาระสำคัญ รัฐสมาชิกต้องยกเลิกการใช้แรงงานเด็กอย่างมีประสิทธิภาพ และเพิ่มอายุขั้นต่ำใน การจ้างงานให้สูงขึ้น • อายุขั้นต่ำในการจ้างงานต้องกำหนดไว้ไม่ต่ำกว่าอายุที่สำเร็จการศึกษาภาคบังคับ และในกรณีใดก็ตามต้องไม่ต่ำกว่า ๑๕ ปี • อายุขั้นต่ำในการจ้างงานอันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ความปลอดภัย หรือศีลธรรมของผู้เยาว์ ต้องไม่ต่ำกว่า ๑๘ ปี • อนุสัญญานี้ไม่ใช้บังคับกับงานที่เด็กทำในโรงเรียนเพื่อประกอบหลักสูตรการศึกษา • กฎหมายหรือกฎระเบียบภายในประเทศอาจอนุญาตให้บุคคลอายุ ๑๓ ถึง ๑๕ ปีทำงานเบาได้ ซึ่งเป็นงานที่ (ก) ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพหรือการพัฒนา และ (ข) ไม่ส่งผลเสียหายต่อการศึกษา กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๑๖ Here comes your footer  Page 25

  26. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๓๘ ว่าด้วยอายุขั้นต่ำ คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญฯ ยังไม่มีข้อสังเกตต่อการปฏิบัติตามอนุสัญญาของประเทศไทย มีเพียงการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อประกอบการติดตามผลโดยให้ความสนใจเป็นพิเศษกับการนำเสนอสถิติข้อมูลจากผลการตรวจแรงงาน กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๑๗ Here comes your footer  Page 26

  27. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๘๒ ว่าด้วยรูปแบบที่เลวร้ายที่สุดของการใช้แรงงานเด็ก สาระสำคัญ รัฐสมาชิกต้องดำเนินมาตรการเพื่อการห้ามและการขจัดรูปแบบที่เลวร้ายที่สุดของการใช้แรงงานเด็กโดยฉับพลันในฐานะเป็นเรื่องเร่งด่วน และคำว่า "เด็ก" ต้องหมายถึง บุคคลทั้งปวงผู้มีอายุต่ำกว่า ๑๘ ปี ส่วนคำว่า "รูปแบบที่เลวร้ายที่สุดของแรงงานเด็ก" ประกอบด้วย (ก)รูปแบบทั้งปวงของการใช้ทาสหรือแนวปฏิบัติที่คล้ายคลึงกับการใช้ทาส รวมทั้ง การบังคับหรือการเกณฑ์เด็กให้เข้าร่วมในความขัดแย้งที่ใช้อาวุธ (ข) การใช้ การจัดหา หรือการเสนอเด็กเพื่อการค้าประเวณี เพื่อการผลิตสื่อลามกอนาจาร หรือเพื่อการแสดงลามกอนาจาร (ค) การใช้ การจัดหา หรือการเสนอเด็กเพื่อกิจกรรมที่ฝ่าฝืนกฎหมาย (ง) งานซึ่งโดยลักษณะของงานหรือสภาพแวดล้อมในการทำงานนั้นอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัย ความปลอดภัย หรือศีลธรรมของเด็ก กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๑๘ Here comes your footer  Page 27

  28. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๘๒ ว่าด้วยรูปแบบที่เลวร้ายที่สุดของการใช้แรงงานเด็ก สาระสำคัญ รัฐสมาชิกต้องดำเนินมาตรการเพื่อการห้ามและการขจัดรูปแบบที่เลวร้ายที่สุดของการใช้แรงงานเด็กโดยฉับพลันในฐานะเป็นเรื่องเร่งด่วน และคำว่า "เด็ก" ต้องหมายถึง บุคคลทั้งปวงผู้มีอายุต่ำกว่า ๑๘ ปี ส่วนคำว่า "รูปแบบที่เลวร้ายที่สุดของแรงงานเด็ก" ประกอบด้วย (ก)รูปแบบทั้งปวงของการใช้ทาสหรือแนวปฏิบัติที่คล้ายคลึงกับการใช้ทาส รวมทั้ง การบังคับหรือการเกณฑ์เด็กให้เข้าร่วมในความขัดแย้งที่ใช้อาวุธ (ข) การใช้ การจัดหา หรือการเสนอเด็กเพื่อการค้าประเวณี เพื่อการผลิตสื่อลามกอนาจาร หรือเพื่อการแสดงลามกอนาจาร (ค) การใช้ การจัดหา หรือการเสนอเด็กเพื่อกิจกรรมที่ฝ่าฝืนกฎหมาย (ง) งานซึ่งโดยลักษณะของงานหรือสภาพแวดล้อมในการทำงานนั้นอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัย ความปลอดภัย หรือศีลธรรมของเด็ก กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๑๘ Here comes your footer  Page 28

  29. อนุสัญญาฉบับที่ ๑๘๒ ว่าด้วยรูปแบบที่เลวร้ายที่สุดของการใช้แรงงานเด็ก การติดตามผลเรื่อง การจัดทำแผนแห่งชาติเพื่อขจัดรูปแบบที่เลวร้ายของการใช้แรงงานเด็ก และการนำแผนไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมและมีประสิทธิผล เด็กที่ทำงานในภาคแรงงานนอกระบบ และผู้ประกอบกิจการส่วนตัวที่มีอายุต่ำกว่า ๑๘ ปีไม่อยู่ภายใต้บังคับของ พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และกฎกระทรวงฉบับที่ ๖ ทำให้คนกลุ่มนี้ไม่ได้รับการคุ้มครองให้พ้นจากการทำงานอันตราย คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญฯ จึงขอให้รัฐบาลดำเนินมาตรการต่าง ๆ เพื่อคุ้มครอง ผู้ประกอบกิจการส่วนตัวที่มีอายุต่ำกว่า ๑๘ ปี หรือเด็กในภาคแรงงานนอกระบบ ซึ่งทำงาน ที่มีลักษณะหรือสภาพการณ์อันอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ความปลอดภัย และศีลธรรมของเด็กได้ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๑๙ Here comes your footer  Page 29

  30. ขอบคุณ กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ๑๙ Here comes your footer  Page 30

More Related