280 likes | 459 Views
ชี้แจงและทำความเข้าใจ การรายงานผลการปฏิบัติงานของ สสจ./สสพ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552. กรนภา ชัยวัฒน์ และทีมงานกลุ่มติดตามและประเมินผล กองแผนงาน. ตัวชี้วัด/กิจกรรมหลัก (เป้าหมาย) สื่อสาร/ถ่ายทอดกลยุทธ์และเป้าหมายโดยออกแบบกระบวนการภายในชัดเจน
E N D
ชี้แจงและทำความเข้าใจชี้แจงและทำความเข้าใจ การรายงานผลการปฏิบัติงานของ สสจ./สสพ. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 กรนภา ชัยวัฒน์ และทีมงานกลุ่มติดตามและประเมินผล กองแผนงาน
ตัวชี้วัด/กิจกรรมหลัก (เป้าหมาย) • สื่อสาร/ถ่ายทอดกลยุทธ์และเป้าหมายโดยออกแบบกระบวนการภายในชัดเจน • นำแผนการปฏิบัติงานไปสู่การปฏิบัติเน้นผลผลิต/ผลลัพธ์ให้เกิดขึ้นอย่างครบถ้วนตามกระบวนงาน • แผนปฏิบัติการและงบประมาณเชื่อมโยงให้สอดคล้องกัน • เอกสารที่ใช้อ้างอิงผลงานชัดเจน เป็นระบบ • ส่งผลถึงตัวชี้วัดในทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ ติดตามประเมินผล การปฏิบัติงาน การปรับเปลี่ยน - ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา - ความพร้อมและศักยภาพของ หน่วยปฏิบัติ - ภารกิจสำคัญที่ต้องดำเนินการ - ภารกิจ/นโยบายใหม่ที่จะ ดำเนินการและพัฒนางานประจำ - ชะลอ/ยกเลิกภารกิจที่ไม่จำเป็น ไม่ประหยัด ไม่คุ้มค่า หรือ มีความซ้ำซ้อน - กฎหมายและระเบียบที่รองรับ - แนวโน้มและสถิติย้อนหลังของ ข้อมูลเพื่อการปฏิบัติงาน ส่วนที่ 1(45 คะแนน) วิเคราะห์ /สังเคราะห์ อย่างเป็นระบบ ในการทำแผน การ ปฏิบัติงาน ควรรู้... • ติดตามผลการดำเนินงานและ ผลการใช้จ่ายให้ได้ผลงานจริง • มองปัญหาให้เห็นปัญหาที่แท้จริง • ทบทวนสิ่งที่ปฏิบัติ • หาแนวทางแก้ปัญหา/ปรับปรุงและปัจจัยสนับสนุน • ฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจจัดลำดับความสำคัญ • สารสนเทศในการทำงาน ข้อมูลระบบงาน การใช้ประโยชน์ที่เหมาะสมทันเวลา ปรับ เปลี่ยน ควรทำ • ปรับเปลี่ยนความรู้สึก • ปรับเปลี่ยนแนวคิด • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • เสริมพฤติกรรมใหม่ ควรเข้าใจ... หลักการติดตามประเมินผล
- ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา - ความพร้อมและศักยภาพของกลุ่ม/ฝ่าย/MU - ภารกิจสำคัญที่ต้องดำเนินการ - ภารกิจ/นโยบายใหม่ที่จะดำเนินการและพัฒนางานประจำ - ชะลอ/ยกเลิกภารกิจที่ไม่จำเป็น ไม่ประหยัด ไม่คุ้มค่า หรือมีความซ้ำซ้อน - กฎหมายและระเบียบที่รองรับ - แนวโน้มและสถิติย้อนหลังของข้อมูลเพื่อกำหนดแผนปฏิบัติงาน 1.วิเคราะห์ /สังเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการทำแผน
การ ปฏิบัติงาน ควรรู้... 2.การปฏิบัติงาน ส่วนที่ 1 (45 คะแนน) • ตัวชี้วัด/กิจกรรมหลัก (เป้าหมาย) • สื่อสาร/ถ่ายทอดกลยุทธ์และเป้าหมายโดยออกแบบ กระบวนการภายในชัดเจน • นำแผนการปฏิบัติงานไปสู่การปฏิบัติเน้นผลผลิต/ผลลัพธ์ให้เกิดขึ้นอย่างครบถ้วนตามกระบวนงาน • แผนปฏิบัติการและงบประมาณเชื่อมโยงให้สอดคล้องกัน • เอกสารที่ใช้อ้างอิงผลงานชัดเจน เป็นระบบ • ส่งผลถึงตัวชี้วัดในทุกระดับอย่างมีประสิทธิภาพ
3.ติดตามประเมินผล • ติดตามผลการดำเนินงานและ ผลการใช้จ่ายให้ได้ผลงานจริง • มองปัญหาให้เห็นปัญหาที่แท้จริง • ทบทวนสิ่งที่ปฏิบัติ • หาแนวทางแก้ปัญหา/ปรับปรุง และปัจจัยสนับสนุน • ฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ จัดลำดับความสำคัญ • สารสนเทศในการทำงาน ข้อมูลระบบงาน การใช้ประโยชน์ ที่เหมาะสมทันเวลา ส่วนที่ 1 (45 คะแนน) ควร เข้าใจ... หลักการติดตามประเมินผล
ปรับ เปลี่ยน 4.การปรับเปลี่ยน ควรทำ ส่วนที่ 1 (45 คะแนน) • ปรับเปลี่ยนความรู้สึก • ปรับเปลี่ยนแนวคิด • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • เสริมพฤติกรรมใหม่ คะแนนส่วนที่ 1 เน้นพิจารณาจาก 4ข้อ ประกอบกัน
ความสำคัญ ปี 2552 เอกสารงบประมาณ เป้าหมายการปฏิบัติ ภารกิจชัดเจน ผลลัพธ์ / ผลกระทบ ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ • RBM PMQA Good Governance • งบประมาณมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • วัดผลการปฏิบัติงานของหน่วยงาน ตอบหน่วยงานอื่นๆใช้ประโยชน์เอง รองรับการประเมินผล PART
การบริหารราชการ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐRBM (Result Base Management) ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ได้รับงบประมาณผู้รับผิดชอบ- คน ตั้งเป้าของแผน-MUกลุ่มฝ่าย ผลสัมฤทธิ์ ได้ทำงานตามแผน ทำสำเร็จเกิดผลลัพธ์ ทำเสร็จเกิดผลผลิต วัตถุประสงค์ (Objectives) ปัจจัยนำเข้า (Inputs) กิจกรรม (Activities) ผลผลิต (Outputs) ผลลัพธ์ (Outcomes) ความประหยัด (ความคุ้มค่า)
ผลสัมฤทธิ์ (Results) การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Results Based Management : RBM) ผลการดำเนินงาน ที่เกิดจากกระบวนการทำงาน ผลการดำเนินงาน ที่เกิดจากการนำผลผลิตไปใช้ประโยชน์ ผลผลิต (Outputs) ผลลัพธ์ (Outcomes) เน้นความรับผิดชอบ (Accountability) การทำงานต่อสหกรณ์-กลุ่มเกษตรกร หน่วยงานได้ใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพและได้ผลสัมฤทธิ์ มุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานเป็นหลัก มีการวัดผลชัดเจน ตรวจสอบได้ มีข้อมูลที่ครบถ้วน และมีความน่าเชื่อถือ
ความก้าวหน้า ผลงาน ปัญหาอุปสรรค ความก้าวหน้า รายงาน ผลลัพธ์ วิธีการ ติดตาม ประเมินผล
รายงานความก้าวหน้า เปรียบเทียบเป้าหมาย/ผล ของ งาน – เงิน ความก้าวหน้ากิจกรรม (ทุกหน่วยนับ) ตามเป้าหมายที่กำหนด จำนวนผลผลิต/ผลลัพธ์ที่ได้รับจากการดำเนินกิจกรรม การใช้จ่ายงบประมาณ • บันทึกบนระบบ http..//monitor.go.thทุกเดือน (ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลา) มีเอกสารอ้างอิงกระบวนงาน ทะเบียนสรุปผลงาน และแบบรวบรวมข้อมูล
ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ผลกระทบ กรอบการประเมินความคุ้มค่า บรรลุวัตถุประสงค์ / เป้าหมาย ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ความสอดคล้องในการใช้ทรัพยากร / กระบวนการทำงาน / ผลิตภาพ (ผลผลิตที่มีคุณภาพ) ผลสืบเนื่องจากการปฏิบัติภารกิจ ตามที่คาดหมายและไม่ คาดหมาย
การจัดสรรงบประมาณของภาครัฐการจัดสรรงบประมาณของภาครัฐ กลุ่มติดตามและประเมินผล • ประสิทธิภาพ • ได้ผลงานตามเป้าหมาย • โดยเป็นผลจากการทำงาน • ของหน่วยงานตามแผนงาน • ที่ได้รับงบประมาณ • ความคุ้มค่า • - ใช้ต้นทุนต่ำ ใช้คน • เวลา และเงิน (รวมถึงวัสดุ อุปกรณ์ ) น้อยสอดคล้องกับคุณภาพของงาน ผลสัมฤทธิ์ - ส่งผลดีต่อ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร ประชาชน สิ่งที่รัฐต้องการ จากหน่วยงาน • ประสิทธิผล • งานที่ทำและเงินที่ใช้ไป • ต้องส่งผลลัพธ์ต่อกลุ่มเป้าหมาย ผลผลิต และตัวชี้วัดที่กำหนดตามเอกสารงบประมาณ
องค์ประกอบที่สำคัญของ SPBB 1. มุ่งเน้นผลสำเร็จของงานตามผลผลิต ผลลัพธ์ • เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ • เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง • ผลผลิตและตัวชี้วัด 3. การจัดทำงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะ ปานกลาง (MTEF) 4. การมอบอำนาจการบริหารจัดการงบประมาณ • เน้นให้กระทรวงมีอำนาจในการบริหารจัดการงบประมาณเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จมากกว่าเน้นกฎระเบียบ 2. การเพิ่มขอบเขต ความครอบคลุมของงบประมาณ 5. เน้นหลักการธรรมาภิบาล - การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละระดับ - มีระบบการติดตามประเมินผลและการรายงานผลการดำเนินงานที่โปร่งใส และตรวจสอบได้ 6. ระบบการติดตามและประเมินผลความสำเร็จตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 14
P S BB ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ตามยุทธศาสตร์ กับ PART ART ผลการดำเนินงานที่ดี เกิดจากการดำเนินงาน ตามขั้นตอนที่มีความสัมพันธ์ และต่อเนื่องกันทั้งระบบ ผลกระทบ ผลลัพธ์ ผลผลิต กิจกรรม งบประมาณ สำนักงบประมาณ
หลัก SPBB : • ทุกบาท +ทุกคน+ทุกกิจกรรม ต้องการอะไร what ผลกระทบ ( IMPACT) ต้องผูกด้วยกัน ทำอย่างไรHow วางแผนงบประมาณ ทำไปทำไม Why ทำอย่างไร How ติดตามประเมินผล ทำอย่างไร How ทำอย่างไร How กิจกรรม (ACTIVITY) ทุกกิจกรรม ต้องรู้เพื่อนำส่ง บริหารงบประมาณ งบประมาณ ( INPUT) ใช้เท่าไหร่ 1. ทุกบาท + ทุกคน 5. 4. ผลลัพธ์ 3. ผลผลิต 2.
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ : SPBB แผน ผล ระดับ แผนบริหาร ราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ ชาติ เป้าหมายยุทธศาสตร์ ผลกระทบ รัฐบาล ผลลัพธ์ ยุทธศาสตร์ กระทรวง เป้าหมายการ ให้บริการสาธารณะ แผน 4 ปี กระทรวง ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้น แผน 4 ปี แผนประจำปี กลยุทธ์หน่วยงาน เป้าหมายการให้บริการ ระดับหน่วยงาน กรม แผนปฏิบัติ งาน สสจ./สสพ. ผลผลิตตามแผน ผลผลิต ที่เกิดขึ้น แผนงาน แผนเงิน กลุ่ม/ฝ่าย/MU กิจกรรม ผลของกิจกรรม ที่เกิดขึ้น งบประมาณ บริหารงาน /เงิน/คน
วิสัยทัศน์Vision พันธกิจ Mission เป้าประสงค์หลักขององค์กรทุกระดับ SWOT SWOT สภาพแวดล้อมภายใน จุดอ่อน/แข็ง สภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส/อุปสรรค 1 1 2 ทิศทางขององค์กร แผนกลยุทธ์/แผนการส่งเสริม ผลลัพธ์ เป้าหมาย+KPI 2Q2TP กลยุทธ์ระดับกรม 3 1. ภารกิจหลัก 2. ภารกิจสนับสนุน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปีและประจำปี ผลผลิต เป้าหมาย+KPI QQCT • กลยุทธ์ระดับสสจ./สสพ. 4 1.1 ภารกิจหลัก 1.2 ภารกิจหลัก 2.1 ภารกิจสนับสนุน • กลยุทธ์ระดับ กลุ่ม /ฝ่าย /MU กิจกรรม เป้าหมาย+KPI QT 5 18 1. 1.1กิจกรรมหลัก 1.2.1 กิจกรรมหลัก 2.1.1 กิจกรรมสนับสนุน
เครื่องมือวิเคราะห์ความสำเร็จ ของการดำเนินงานการใช้จ่ายงบประมาณ PART Performance the action or process of performing a task or function การดำเนินงาน/กระบวนการที่ปฏิบัติตามหน้าที่รับผิดชอบ การประเมิน Assessment การจัดกลุ่ม/จัดลำดับ โดยพิจารณา จาก คุณภาพ มาตรฐาน และกระบวนงาน Rating Tool เครื่องมือ 19
ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ 1 -ดูจุดหมายปลายทาง -ดูกลุ่มเป้าหมาย -ดูเพื่อนร่วมงาน - ดูตัวเอง 6 ข้อ • ข. การวางแผนกลยุทธ์ • เป้าหมายระยะยาวที่ชัดเจน • รายละเอียดแผนกลยุทธ์ • จ. ผลผลิต/ ผลลัพธ์ • เปรียบเทียบแผนกับผล • - การเพิ่มประสิทธิภาพ • - การใช้เงินอย่างคุ้มค่า 2 5 7 ข้อ 5 ข้อ ง. การบริหารจัดการ - การบริหารหน่วยงาน - การบริหารการเงิน - การเพิ่มขีดความสามารถ - การเก็บรวบรวมข้อมูล 4 3 • ค. การเชื่อมโยงงบประมาณ • เป้าหมายประจำปีที่ชัดเจน • รายละเอียดแผนกลยุทธ์ • ต้นทุนแท้จริง 5 ข้อ 7 ข้อ เครื่องมือ PART มี 5 ชุดคำถาม รวม 30 ข้อ คิด วางแผน ผล ผูกกับเงิน ทำ พิจารณาจากเอกสารประกอบเป็นหลัก
PART ใช้เมื่อไหร่ วิเคราะห์ผลผลิตเมื่อสิ้นสุดปีงบประมาณ ช่วงเดือนตุลาคม - มีนาคม เช่น ทำการวิเคราะห์ปี 51 ผล PART จะใช้ปรับปรุงการบริหารงบประมาณปี 52 เตรียมวางแผนจัดทำงบประมาณปี 53 21
บทบาทของ PART ในกระบวนการงบประมาณของสสจ. /สสพ. การจัดทำ แผนงาน งบประมาณ สารสนเทศในการวางแผน งบประมาณ PART เครื่องมือประเมินผล ประเมินผล สารสนเทศในการอนุมัติ งบประมาณระดับหน่วยงาน การอนุมัติแผนงาน งบประมาณ สารสนเทศในการบริหาร งบประมาณตามผลลัพธ์และผลผลิต การบริหาร แผนวาน งบประมาณ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
การติดตาม ประเมินผลงบประมาณ ประเมินผลโดย ผลกระทบ Impact PART • KPI 5 มิติ • ปริมาณ,คุณภาพ,เวลา, • สถานที่,กลุ่มเป้าหมาย ผลลัพธ์ Outcome บริหารงบประมาณ (งาน เงิน คน) โดยการติดตาม KPI4 มิติ - เชิงปริมาณ ,คุณภาพ,เวลา,ต้นทุน ผลผลิต Output กิจกรรม Process KPI 2 มิติ - ปริมาณงาน,ระยะเวลา ทรัพยากร Input
เอกสารประกอบคำตอบ เชื่อถือได้ ตรวจสอบที่มาที่ไปได้ มีความถูกต้องชัดเจน จัดทำมาแล้วตามขั้นตอน มีผู้รับผิดชอบ “ไม่ใช่เอกสารจัดทำขึ้นมาใหม่” 24
ข้อตระหนัก แข่งขันกับตัวเอง ทำด้วยตนเอง/แก้ปัญหาด้วยตัวเอง เริ่มจากรับรู้ เรียนรู้ รู้จริง รู้แจ้ง ยอมรับความจริง ยอมรับความจริง สิ่งใดที่ยังไม่มี ก็ทำให้มี สิ่งใดที่มีปัญหา ก็ต้องแก้ไขให้ถูกต้อง สิ่งใดที่ทำดีแล้ว ก็พัฒนาให้เป็นมาตรฐาน เราอยู่ในระดับไหนจะพัฒนาหรือไม่ ต้องการสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้เกิดขึ้น PART เป็น Self – Assessment คะแนนเป็นเพียงภาพสะท้อน
หลักการ“การถ่ายทอด/นำไปสู่การปฏิบัติ”หลักการ“การถ่ายทอด/นำไปสู่การปฏิบัติ” • ทุกบาท ทุกคน ทุกกิจกรรม ต้องเชื่อมโยงด้วยกันและรับรู้กันหมด (เรียนรู้แผนในทุกระดับ วัตถุประสงค์ของใช้ งปม.) • เป้าหมายและKPI (เรียนรู้ทุกระดับ ทุกผลผลิต ทุกงาน/โครงการ) ให้ชัดเจน • มีความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงานที่เน้นคุณภาพ และเตรียมพร้อมที่จะพิสูจน์ความสำเร็จของการดำเนินงาน
ทรัพยากร กิจกรรม ผลผลิต ติดตามผล รายงานผล หลักการ“บริหาร งปม. และติดตามผลการดำเนินงาน” • แบ่งหน้าที่/ความรับผิดชอบ/งานในแต่ละระดับให้ชัดเจน สอบทานย้อนกลับได้ • (ยึดหลักธรรมาภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้) • มีความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ ร่วมปฏิบัติงาน • ร่วมแสดงความรับผิดชอบ ปรับปรุงการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และมีข้อมูล • สารสนเทศที่เชื่อมโยงเป็นระบบมาใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการให้ • นำส่งผลผลิต และบรรลุมาตรฐาน # ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต
Q&A หัวหน้ากลุ่มติดตามและประเมินผล พร้อมคณะ