380 likes | 618 Views
ความดันโลหิตสูงและการออกกำลังกาย. Sitha Phongphibool, MS, ES, HFS ACSM Clinical Exercise Physiologist/Specialist. ความดันโลหิตสูงแบ่งออกเป็น 2 แบบ. Primary Hypertension เกิดขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ ผู้เป็นส่วนใหญ่จะไม่มีอาการแสดง Secondary Hypertension เกิดจากการเจ็บป่วยอื่น ๆ
E N D
ความดันโลหิตสูงและการออกกำลังกายความดันโลหิตสูงและการออกกำลังกาย Sitha Phongphibool, MS, ES, HFS ACSM Clinical Exercise Physiologist/Specialist
ความดันโลหิตสูงแบ่งออกเป็น 2 แบบ • Primary Hypertension • เกิดขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ • ผู้เป็นส่วนใหญ่จะไม่มีอาการแสดง • Secondary Hypertension • เกิดจากการเจ็บป่วยอื่น ๆ • Blood Pressure (BP) • BP = Q x TRP (Total Peripheral Resistance) • ในขณะที่ออกกำลังกาย โดยทั่วไป TRP จะลดลง
Predicting Future Hypertension • Resting BP • Family Hx of Hypertension • BMI • Physical activity • BP response during exercise (exaggerated)
Resistance Aerobic
Facts • คนที่มีความดันโลหิตสูงร้อยละ 75 สามารถลดความดันโลหิตลงได้ด้วยการออกกำลังกาย • ความดันโลหิตสามารถลดลงได้จากการออกกำลังกายแบบแอโรบิค ถึงแม้ว่าไขมันในร่างกายหรือน้ำหนักตัวไม่เปลี่ยน • อัตราการลดของความดันโลหิตจะลดลงอย่างเห็นได้ชัดในกลุ่มคนที่เป็นความดันโลหิตสูง • การออกกำลังกายแบบแอโรบิคช่วยลดความดันโลหิตและยังส่งผลประโยชน์ทางด้านอื่นๆ ทางสุขภาพ
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคความดันโลหิตสูงปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง • อายุ • เชื้อชาติ • อ้วน/น้ำหนักตัวเกิน • พันธุกรรม • ขาดการออกกำลังกาย • สูบบุหรี่ • รับประทานอาหารเค็ม/ดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป • เครียด • โรคเรื้อรัง
Lifestyle Change for Hypertension • ลดน้ำหนักตัว • ลด sodium to < 2.4 gms/day (ลดเค็ม) • ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ • ฝึกสมาธิ ผ่อนคลายความเครียด • เลิกสูบบุหรี่
Lifestyle Modification for Hypertension • Dietary Approach to Stop Hypertension (DASH) • รับประทานผักและผลไม้ให้มากขึ้น และลดเค็ม
Evaluation • Reason for referral • Demographics (age, gender, ethnicity) • History of illness • Current medications • Allergies • Past medical history • Family history • Social history • Physical exam
Baseline Data • น้ำหนักตัว • ส่วนสูง • BMI & Body Fat% • รอบเอว • อัตราการเต้นของหัวใจในขณะพัก • ความดันโลหิตในขณะพัก (lying, sitting, and standing) • Resting ECG (looking for arrhythmia)
Exercise Testing • Maximal test (High risk) • Bruce • Cycle max • เพื่อหาสมรรถภาพทางกาย การเปลี่ยนแปลงของ HR & BP • Submaximal test (Low & Moderate risks) • เดิน 6 นาที • Healthy individuals able to walk 400 – 700 m • Improvement of >70 m is considered clinically significant or 12% - 40% better • Heart rate inflection point • เพื่อหาสมรรถภาพทางกายแบบทางอ้อม
Exercise Testing • 30 sec Sit to Stand • Flexibility (Sit and reach) • Agility (กลุ่มที่น้ำหนักเกิน หรือผู้สูงอายุ) • Balance (กลุ่มผู้สูงอายุ)
Hypertension • รูปแบบของการออกกำลังกาย • Aerobicexercise • Short intense exercise should be avoided in severely hypertensive individuals • ไม่ควรทำกิจกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลงของความหนักตลอกเวลา • สับเปลี่ยนกิจกรรมเพื่อไม่ให้ร่างกายเกิดความเคยชิน • ควรหลีกเลี่ยง Type 3 aerobic exercise • Continuous หรือ Intermittent
Hypertension • ความถี่ในการออกกำลังกาย • จากการศึกษาพบว่า การออกกำลังกาย 3 ต่อสัปดาห์จะทำให้ความดันโลหิตลดลงอย่างน่าพอใจ • >3 วัน/สัปดาห์ • ไม่ควรพักเกิน 3 วันหลังจากออกกำลังกายครั้งสุดท้าย • ไม่หักโหมออกกำลังกายเพราะอาจจะก่อให้เกิดการบาดเจ็บ
ความถี่ในการออกกำลังกายกับความดันโลหิตความถี่ในการออกกำลังกายกับความดันโลหิต
Hypertension • ความหนักในการออกกำลังกาย • Moderate intensity • 40% - 60% HRR or VO2R • ความหนักที่มากจะช่วยลดความดันโลหิตได้มาก แต่เพียงแค่ใน 1 ชั่วโมงแรก Exercise HR - HRrest % HR = HRmax - HRrest
ความหนักในการออกกำลังกายและความดันโลหิตความหนักในการออกกำลังกายและความดันโลหิต
Intensity of Exercise and BP Reduction Journal of Hypertension
Intensity of Exercise • การออกกำลังกายในระดับที่หนัก (Vigorous) อาจเป็นสิ่งที่ยากและไม่เหมาะสมสำหรับคนบางกลุ่ม • ถึงแม้ว่าจะทำให้ความดันโลหิตลดลงมาก แต่ในทางกลับกัน ความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะฉุกเฉินก็สูงเช่นเดียวกัน
Hypertension • ระยะเวลาในการออกกำลังกาย • >30 นาทีต่อครั้ง • สะสมได้ในแต่ละวัน แต่ถ้าต่อเนื่องได้จะดีกว่า
ระยะเวลาในการออกกำลังกายและความดันโลหิตระยะเวลาในการออกกำลังกายและความดันโลหิต
Hypertension • ข้อควรระวังในการออกกำลังกาย • หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่มีความหนักไม่คงที่ (ขึ้น ๆ ลง ๆ ตลอดเวลา) • ออกกำลังกายในรูปแบบที่เป็น Flow work หลีกเลี่ยง Pressure work ให้มากที่สุด • ไม่หักโหม ค่อยเป็นค่อยไป • ถ้า BP มากกว่า >160/100 mm Hg ควรปรึกษาแพทย์เพื่อรับยาก่อนที่จะเริ่มออกกำลังกาย
การใช้แรงต้าน • บริหารกล้ามเนื้อกลุ่มใหญ่ๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน • เน้นการออกกำลังกายเพื่อความคงทน (Endurance) • High repetition/Low resistance • 3 sets/20 repetitions • ฝึกกิจกรรมที่เป็นรูปแบบ “Functional for Daily Life” • กิจกรรมที่ต้อง “ดึง ดัน หรือ ผลัก” อาจส่งผลให้ความดันโลหิตสูงได้ • ให้คำนึงถึง “Celiling Effect”
ขั้นตอนในการออกกำลังกายขั้นตอนในการออกกำลังกาย แบบแรงต้าน
ข้อควรระวังในการออกกำลังกายข้อควรระวังในการออกกำลังกาย • ยาจำพวก Beta Blockers & Diuretics อาจทำให้ร่างกายบกพร่องต่อการปรับความสมดุลของความร้อนในร่างกาย • อาจเสี่ยงต่อ heat injuries (heat cramps, heat exhaustion, and heat stroke) เฝ้าระวังอาการผิดปกติ • SBP >200 mm Hg/ DBP >110 mm Hg ในขณะพัก ไม่ควรทำการทดสมรรถภาพทางกายหรือให้ออกกำลังกาย • ในกรณีผู้ที่รับประทานยาจำพวก beta blockers ควรควบคุมการออกกำลังกายโดยใช้ความรู้สึกเหนื่อย • ผู้ที่เป็น severe hypertension ควรที่จะได้รับการรักษาด้วยยาก่อนที่จะเริ่มออกกำลังกาย • ถ้าสามารถปฏิบัติได้ ควรวัดความดันโลหิตก่อนและหลังออกกำลังกาย
Exercise Workshops • Core Exercise • Abdominal Exercise