1 / 24

ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว

Mechanism of virus infection. ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว. การเข้าสู่ร่างกายของเชื้อไวรัส. การเข้าสู่ร่างกายของเชื้อไวรัส. ทางผิวหนัง เซลล์ผิวหนังชั้นนอก (epidermis): เซลล์ที่ตายแล้ว ไวรัสเพิ่มจำนวนไม่ได้ - บาดแผล รอยถลอก ไวรัสก่อโรคเริม Herpes simplex virus.

lefty
Download Presentation

ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Mechanism of virus infection ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว

  2. การเข้าสู่ร่างกายของเชื้อไวรัสการเข้าสู่ร่างกายของเชื้อไวรัส

  3. การเข้าสู่ร่างกายของเชื้อไวรัสการเข้าสู่ร่างกายของเชื้อไวรัส • ทางผิวหนัง เซลล์ผิวหนังชั้นนอก (epidermis): เซลล์ที่ตายแล้วไวรัสเพิ่มจำนวนไม่ได้ - บาดแผล รอยถลอก ไวรัสก่อโรคเริม Herpes simplex virus

  4. - รอยกัดของแมลงพาหะของเชื้อ ไวรัสก่อโรคไข้เลือดออก :Dengue virus รอยกัดของสัตว์ที่เป็นโรค ไวรัสก่อโรคพิษสุนัขบ้า :Rabies virus -ทางเข็มฉีดยา ไวรัสก่อโรคเอดส์ : Human immunodeficiency virus

  5. ทางการหายใจ ไวรัสแพร่กระจายโดยการไอ จาม - ก่อโรคบริเวณระบบทางเดินหายใจ ไวรัสก่อโรคไข้หวัดใหญ่ : Influenza virus - ก่อโรคที่อวัยวะส่วนอื่น ไวรัสก่อโรคหัดเยอรมัน : Rubella virus

  6. ทางระบบทางเดินอาหาร ปาก กระเพาะอาหาร ลำไส้ - ก่อโรคบริเวณระบบทางเดินอาหาร ไวรัสก่อโรคอุจจาระร่วงในเด็ก : Rotavirus - ก่อโรคที่อวัยวะส่วนอื่น ไวรัสก่อโรคตับอักเสบ ชนิด A : Hepatitis A virus

  7. ทางระบบปัสสาวะ และระบบสืบพันธุ์ ไวรัสติดเชื้อบริเวณ mucosal membrane ไวรัสที่ติดต่อทางเพศสัมพันธุ์ ไวรัสก่อโรคเริม : Herpes simplex virus ไวรัสก่อโรคหูด : Human papilloma virus ไวรัสก่อโรคเอดส์ : Human immunodeficiency virus

  8. ทางเยื่อบุตา ไวรัสติดเชื้อบริเวณ mucosal membrane ไวรัสก่อโรคตาแดง: Adenovirus type 3, 7 Enterovirus type 70 6. ทางรก ไวรัสก่อโรคหัดเยอรมัน 7. ทางการรับเลือด และการปลูกถ่ายอวัยวะ ไวรัสก่อโรคตับอักเสบ ชนิด B : Hepatitis B virus

  9. การแพร่กระจายของไวรัสการแพร่กระจายของไวรัส • มีความไวต่อ ความร้อน แห้ง แสงอุลตราไวโอเลตจากแสงอาทิตย์ - ใช้vector ในการแพร่กระจายไวรัส • บางชนิดมีความทนทานในสิ่งแวดล้อม - ปนเปื้อนในน้ำ อาหาร แพร่กระจายทาง faecal-oral route ติดเชื้อในระบบทางเดินอาหาร

  10. Insect vector Infected host Susceptible host Heating Desiccation Enzyme: UV irradiation protease, nuclease Virus

  11. การแพร่กระจายของไวรัส มี 2 รูปแบบ • Horizontal transmission แพร่กระจายไวรัสจากโฮสต์ 1 ชนิด ไปอีก 1 ชนิดโดยตรง • Vertical transmission แพร่กระจายไวรัสจากโฮสต์รุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง มีการติดเชื้อสู่ทารกก่อนคลอด ระหว่างการคลอด และหลังคลอด (ระหว่างการให้นม)

  12. Virus transmission patterns Pattern Example Horizontal human-human (aerosol) Influenza human-human (faecal-oral) Rotavirus Animal-human (direct) Rabies Vertical Placental-foetal Rubella Mother-child (birth) HSV, HIV Mother-chold (breastfeeding) HIV

  13. การติดเชื้อไวรัส • Localized infection การติดเชื้ออยู่บริเวณที่ไวรัสเข้าสู่เซลล์ครั้งแรก บริเวณผิวหนัง ส่วนหนึ่งของระบบหายใจ, ระบบทางเดินอาหาร เช่น influenza virus ติดเชื้อบริเวณทางเดินหายใจ rotavirus ติดเชื้อบริเวณทางเดินอาหาร • Systemic infection การติดเชื้อกระจายไปทั่วร่างกาย

  14. (1) ผ่านทางกระแสโลหิต • ติดเชื้อโดยตรงผ่านทางแมลงพาหะ การถ่ายเลือด การใช้เข็มฉีดยาร่วมกันในผู้ติดยาเสพติด • ไวรัสอยู่เป็นอิสระในพลาสมา หรืออยู่ในเม็ดเลือดแดง เกร็ดเลือด เม็ดเลือดขาว • ไวรัสจะกระจายไปติดเชื้อสูงสุดยังอวัยวะเป้าหมาย (2) ผ่านทางระบบน้ำเหลือง (3) ผ่านทางระบบประสาท - ไวรัสใน peripheral nerve จะกระจายไปยัง CNS โดย axonal transport ตามเซลล์ประสาท

  15. Systemic infection เช่น การติดเชื้อ mouse pox ในหนู เชื้อเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนัง เพิ่มจำนวนบริเวณผิวหนัง แพร่กระจายสู่ lymph node และเพิ่มจำนวน ไวรัสเข้าสู่ระบบเลือด (primary viremia) เพิ่มจำนวนใน ตับ และม้าม ติดเชื้อในเลือดอีกครั้ง (secondary viremia) แพร่กระจายเชื้อไปยังอวัยวะเป้าหมาย คือ ผิวหนัง ไวรัสเพิ่มจำนวนมากมาย ทำให้เกิดตุ่มบริเวณผิวหนัง

  16. การติดเชื้อ measles, mump มีการหายใจเอาเชื้อไวรัสที่ปนเปื้อนในละอองเสมหะ หรือน้ำมูกจากการ ไอ จาม เชื้อเพิ่มจำนวนในเยื่อบุ lymphoid tissue บริเวณทางเดินหายใจ แพร่เข้าสู่อวัยวะต่างๆที่เป็นTarget organ measle : ผิวหนัง mump virus: ต่อมน้ำลาย

  17. Poliovirus infection Poliovirus เข้าสู่ร่างกายทางการกิน เชื้อเพิ่มจำนวนในเซลล์ของลำไส้เล็ก แพร่ไปยัง lymphnode และเพิ่มจำนวน เชื้อเข้าสู่กระแสเลือด แพร่ไปยังTarget organ คือระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้เกิดอัมพาต

  18. พยาธิสภาพของการติดเชื้อไวรัสพยาธิสภาพของการติดเชื้อไวรัส 1. ปัจจัยจากเชื้อไวรัส • ความรุนแรง ปริมาณเชื้อไวรัสที่ได้รับ • วิธีการติดเชื้อ • ระยะเวลาในการเพิ่มจำนวน การแพร่กระจายไปอวัยวะเป้าหมาย • ผลกระทบต่อหน้าที่ของเซลล์โฮสต์

  19. 2. ปัจจัยจากโฮสต์จะมีผลต่อภูมิต้านทานของโฮสต์ • พันธุกรรมของโฮสต์ ทำให้ความไวต่อการติดเชื้อไวรัสต่างกัน • อายุ เด็กเล็ก และผู้สูงอายุมีความไวต่อการติดเชื้อสูงกว่าวัยอื่น • เพศ ความแตกต่างทางเพศทำให้โอกาสสัมผัสกับเชื้อไวรัสต่างกัน เช่นผู้ชายมักเป็นพาหะเรื้อรังของโรคไวรัสตับอักเสบบีมากกว่าผู้หญิง • อาหาร เด็กที่เป็นโรคขาดอาหาร หรือวิตามินจะมีอาการของโรครุนแรง • ฮอร์โมนและความเครียด จะมีผลกระทบต่อระบบภูมิคุ้มกัน

  20. ลักษณะอาการหลังจากการติดเชื้อไวรัสลักษณะอาการหลังจากการติดเชื้อไวรัส 1. Inapparent or Asymptomatic infection เป็นการติดเชื้อแบบไม่แสดงอาการ เช่น การติดเชื้อ poliovirus, HSV, HBV สาเหตุ - ติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์ที่ไม่รุนแรง - ระบบภูมิคุ้มกันดีมาก - ไวรัสไม่สามารถติดเชื้ออวัยวะเป้าหมายได้ 2. Acute infection เป็นการติดเชื้อแบบเฉียบพลัน มีระยะฟักตัวสั้น ระยะเวลาการดำเนินโรคและหายจากโรคอย่างรวดเร็ว เช่น โรคหวัด, หัด, หัดเยอรมัน

  21. 3.Persistent infectionเป็นการติดเชื้อที่ไวรัสยังคงอยู่ในร่างกายไม่ถูกกำจัดออกไป 3.1 Chronic infection เป็นการติดเชื้อแบบเรื้อรัง การติดเชื้อแบบนี้จะมีการผลิตไวรัสอยู่ตลอดเวลา เช่น การติดเชื้อ hepatitis B 3.2 Latent infection ไวรัสจะมีการแฝงตัวอยู่ในร่างกายจนกระทั่งถูกกระตุ้นจึงจะมีการผลิตอนุภาคไวรัส และแสดงอาการของโรค เช่น การติดเชื้อ Varicella-zoster virus (VZV) Herpes simplex virus (HSV)

  22. โรคเริมบริเวณริมฝีปาก จากการติดเชื้อ Herpes simplex virus type 1

  23. 3.3 Slow viral infection ไวรัสจะใช้เวลาในการติดเชื้อนานก่อนที่จะแสดงอาการของโรค เช่น subacute sclerosing panencephalitis เกิดหลังจากการติดเชื้อ measle virus เป็นเวลาหลายปี

More Related