371 likes | 1.24k Views
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ประจำปีการศึกษา 2554. :: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ::. ฝ่ายอาคารสถานที่. คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน.
E N D
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ประจำปีการศึกษา 2554 :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: ฝ่ายอาคารสถานที่ คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ขอต้อนรับ เพื่อ รับการประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2554 วันศุกร์ที่ 8 มิถุนายน 2555
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ประจำปีการศึกษา 2554 Gr e e nUn i v e r s i t y :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ ::
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ประจำปีการศึกษา 2554 Gr e e nUn i v e r s i t y BANGKOK UNIVERSITY :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: แผนยุทธศาสตร์ฝ่ายอาคารสถานที่ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2551 - 2556 ปรัชญา (Philosophy) บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมสร้างสรรค์สู่ความพึงพอใจสูงสุด วิสัยทัศน์(Vision) เป็นองค์กรนำหน้า ด้านการสร้างสรรค์การจัดการทรัพยากร ทางด้านกายภาพและทรัพย์สิน อันมีคุณภาพด้วยความเป็นมืออาชีพ ที่สร้างสรรค์สภาพแวดล้อมและสังคม ให้สมดุลและยั่งยืนด้วยจิตวิญญาณผู้ประกอบการ
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ประจำปีการศึกษา 2554 Gr e e nUn i v e r s i t y BANGKOK UNIVERSITY :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: แผนยุทธศาสตร์ฝ่ายอาคารสถานที่ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2551 - 2556 ยุทธศาสตร์(Strategy) G-Globalization for Development: เพื่อสร้างสรรค์การให้บริการระดับสากลในยุคโลกาภิวัตน์ด้วยการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กรอันสร้างจุดยืนที่แตกต่างคือการเป็นมหาวิทยาลัยสร้างสรรค์ สิ่งแวดล้อม R-Resources Management : เพื่อสร้างสรรค์การใช้ทรัพยากรให้เกิดความคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพสูงสุด สามารถแข่งขันได้และเกิดความยั่งยืน E-Economy of Sufficiency Economic: เพื่อเสริมสร้างระบบเศรษฐกิจตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอันตอบสนองอุปสงค์ของตลาดแรงงานและนักศึกษา มหาวิทยาลัย น่าอยู่ เศรษฐกิจ สังคม E-Environmental Management System & Saving Energy :เพื่อสร้างสรรค์การจัดการสิ่งแวดล้อมและอนุรักษ์พลังงานอย่างยั่งยืนด้วยการวิจัยและพัฒนาสู่ความเป็นสากล N-Nationality of Unity and Life Quality : เพื่อสร้างสรรค์ความเป็นชาติด้วยการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และสร้างสรรค์สังคมอยู่เย็นเป็นสุข อันก่อให้เกิดการร่วมมือกันภายในและภายนอกองค์กร
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ประจำปีการศึกษา 2554 Gr e e nUn i v e r s i t y BANGKOK UNIVERSITY :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: แผนยุทธศาสตร์ฝ่ายอาคารสถานที่ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2551 - 2556 พันธกิจ (Missions) 1. เป็นหน่วยงานออกแบบและก่อสร้างด้วยการบูรณาการเทคโนโลยี 2. เป็นหน่วยงานบริการอาคารสถานที่สู่ความพึงพอใจสูงสุด 3. เป็นหน่วยงานบริหารงานวิศวกรรมเชิงป้องกันและเพิ่มคุณค่าทรัพยากร 4. เป็นหน่วยงานพัฒนาการบริหารงานอาคารสถานที่อย่างยั่งยืน
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ประจำปีการศึกษา 2554 :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: โครงสร้างฝ่ายอาคารสถานที่ ผู้บริหารหน่วยงาน อาจารย์ประวงศ์ มณีเลิศรัตนา prawong.m@bu.ac.th อาจารย์บุญชอบ พรรณนิกร boonchob.p@bu.ac.th อาจารย์ไพบูลย์ นาสำราญ paiboon.n@bu.ac.th
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ประจำปีการศึกษา 2554 Gr e e nUn i v e r s i t y :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ ::
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ประจำปีการศึกษา 2554 :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: ::::แนวปฏิบัติที่ดี :::: ฝ่ายอาคารสถานที่ปีการศึกษา 2554
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ปีการศึกษา 2554 :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: แนวปฏิบัติที่ดี : Best Practices ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 ภาวะผู้นำของผู้บริหารหน่วยงานทุกระดับ 1. การประเมินความสุขและความพึงพอใจในการทำงาน และความต้องการในการพัฒนาทักษะชีวิตของบุคลากรฝ่ายอาคารสถานที่ กระบวนการ: กำหนดแผนงาน ผู้รับผิดชอบ การทำงานวิจัยสถาบัน เผยแพร่ผลการประเมิน และติดตามประเมินผล ประโยชน์ที่ได้รับ :ทราบข้อมูลสำหรับการพัฒนาความสุขและความพึงพอใจในการทำงาน ความต้องการพัฒนาทักษะชีวิต และสามารถส่งเสริมหลักธรรมภิบาล ความโดดเด่น :เป็นหน่วยงานแรกที่มีการศึกษาความสุข ความพึงพอใจในการทำงาน และความต้องการพัฒนาทักษะชีวิตของบุคลากร เพื่อเสริมสร้างหลักธรรมภิบาล หลักการ :ภาวะผู้นำของการบริหารงานด้วยหลักธรรมภิบาลเพื่อสร้างความสุข ความพึงพอใจในการทำงานให้กับบุคลากรและการพัฒนาทักษะชีวิต เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้เกิดคุณภาพในการให้บริการ จนเกิดความพึงพอใจแก่ผู้ใช้บริการ เป้าหมาย: 1) เพื่อศึกษาว่าระดับความสุขของบุคลากรฝ่ายอาคารสถานที่2) เพื่อศึกษาว่าระดับความพึงพอใจในการทำงานของบุคลากร 3) เพื่อศึกษาลำดับความต้องการพัฒนาทักษะชีวิตของบุคลากร ผู้รับผิดชอบ : อาจารย์ผอบ พลเมือง แผนกระบบอาคาร
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ปีการศึกษา 2554 :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: แนวปฏิบัติที่ดี : Best Practices ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหน่วยงาน 2. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การประกันคุณภาพภายใน ด้วยชุมชนนักปฏิบัติแบบเครือข่ายสังคมออนไลน์ หลักการ : ชุมชนนักปฏิบัติแบบเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่มีความสนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งมารวมตัวกันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยความสมัครใจเพื่อร่วมสร้างความเข้าใจ หรือพัฒนาเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในหรือระหว่างสถาบัน และมีกิจกรรมร่วมกันที่สนับสนุนระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ ประโยชน์ที่ได้รับ :มีเครือข่ายเผยแพร่ข้อมูลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในกับองค์กรภายนอก ความโดดเด่น :สามารถสร้างการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การประกันคุณภาพในปีการศึกษา 2554 ด้วยการแบ่งปันเฉลี่ย 5 ครั้ง/เดือน และมีสมาชิกนำความรู้ไปใช้ทั้งสิ้น คิดเป็น 1.18 เท่าของจำนวนครั้งที่แบ่งปัน เป้าหมาย: สร้างชุมชนนักปฏิบัติออนไลน์ จำนวน 1 แห่ง ที่มีอาจารย์-เจ้าหน้าที่ ร้อยละ 80 เป็นสมาชิกมีการแลกเปลี่ยนความรู้ 1 เรื่อง/สัปดาห์ และมีเครือข่ายองค์กรภายนอก 5 แห่ง กระบวนการ: ศึกษา วางแผน แลกเปลี่ยนความรู้ใน Facebook Page เผยแพร่ และประเมินผลกิจกรรม ผู้รับผิดชอบ : อาจารย์ศิวารินทร์ หมวดทิพย์ แผนกระบบอาคาร
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ปีการศึกษา 2554 :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: แนวปฏิบัติที่ดี : Best Practices ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 การจัดบริการด้านกายภาพแก่นักศึกษาและคณาจารย์ 3. การจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยน้ำยาทำความสะอาด หลักการ : การส่งเสริมและบริหารการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบโดยลดการใช้สารเคมี ด้วยการผลิตน้ำยาทำความสะอาดจากสารธรรมชาติที่ลดปัญหากลิ่น ลดการสะสมสิ่งสกปรก รักษาสุขภัณฑ์ รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียให้ผ่านเกณฑ์ น้ำยาเช็ดกระจก เป้าหมาย: ลดค่าใช้จ่ายประมาณ คุณภาพน้ำทิ้งผ่านมาตรฐาน ลดการใช้สารเคมี และพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ ๆ กระบวนการ:เตรียมข้อมูลและรายละเอียด แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ จัดทำแผนและขออนุมัติ เตรียมพื้นที่โครงการและจัดหาเครื่องจักร จัดหาวัตถุดิบและบรรจุภัณฑ์ ผลิตน้ำยาตามคำสั่งผลิตจากแผนกพัสดุ จัดเก็บ รวมทั้งเบิกจ่ายผลิตภัณฑ์ ติดตามประเมินผลมาแก้ไขและปรับปรุงสรุป และการจัดทำรายงานมีการศึกษาทำวิจัยและพัฒนาเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ผู้รับผิดชอบ : อาจารย์ปริพล ทับทิมทอง แผนกระบบอาคาร ประโยชน์ที่ได้รับ :ลดค่าใช้จ่ายประมาณปีละ 200,000 บาท คุณภาพน้ำทิ้งผ่านมาตรฐาน ลดการใช้สารเคมีปีละ 11,900ลิตร และพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ จำนวน 1 ชนิด คือ น้ำยาเช็ดกระจก ความโดดเด่น:มีการเผยแพร่ในรูปของบทความ และการแสดงผลิตภัณฑ์ในชุมชนและเครือข่าย
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ปีการศึกษา 2554 :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: แนวปฏิบัติที่ดี : Best Practices ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 การจัดบริการด้านกายภาพแก่นักศึกษาและคณาจารย์ 4. การตรวจสอบจุดเสี่ยง เลี่ยงปัญหาอัคคีภัยในอาคาร หลักการ :ปัญหาการเกิดอัคคีภัยในอาคารสาเหตุหลักของการเกิดเพลิงไหม้ในอาคารคือไฟฟ้าลัดวงจร ดังนั้นการตรวจสอบระบบการจ่ายไฟฟ้าในอาคารและตรวจสอบจุดบริการและการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าในพื้นที่ใช้สอย เพื่อสร้างความปลอดภัย 100% และสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้ใช้งานอาคาร เป้าหมาย:เพื่อสร้างความเชื่อมั่นต่อระบบไฟฟ้ากับผู้ใช้อาคาร และลดผลกระทบและความสูญเสียต่อองค์กร กระบวนการ:การตรวจสอบแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน Vision Inspection และ Hidden Inspection และการแก้ไขจุดเสี่ยงแก้ไขข้อบกพร่องที่ตรวจพบ ทดสอบซ้ำ แนะนำให้ความรู้เบื้องต้นแก่พนักงานในพื้นที่ โดยมีการบันทึกผล และรายงานผล ประโยชน์ที่ได้รับ :สามารถสร้างความเชื่อมั่นในความปลอดภัยของระบบไฟฟ้าต่อผู้ใช้อาคาร สามารถเสริมสร้างหน่วยงานให้มีคุณภาพ ความโดดเด่น:เป็นการปรับปรุงกระบวนการทำงานเพื่อเพิ่มศักยภาพการให้บริการและสร้างความเชื่อมั่นต่อการบริการ และสามารถเผยแพร่ข้อมูลเพื่อขยายผลการบริการนี้แก่สาธารณะชน ผู้รับผิดชอบ : อาจารย์โชคชัย แสงมงคล แผนกซ่อมบำรุงกล้วยน้ำไท
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ปีการศึกษา 2554 :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: แนวปฏิบัติที่ดี : Best Practices ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 การจัดบริการด้านกายภาพแก่นักศึกษาและคณาจารย์ 5. การจัดการคุณภาพอากาศด้วยการอบโอโซน หลักการ :การเกิดเชื้อรา เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย และกลิ่นเหม็นอับชื้น ที่มองเห็น และมองไม่เห็น ทำให้ผู้อาศัยอยู่ภายในอาคารเกิดความวิตกกังวล และรู้สึกไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพ ดังนั้นการใช้เครื่องผลิตโอโซนทำลายผนังเซลส์ของสิ่งมีชิวิตขนาดเล็ก (เชื้อโรคและแมลงขนาดเล็กต่างๆ) เชื้อโรคและกลิ่นอับในห้องที่มีการอบโอโซนชนิดเข้มข้น ก็จะถูกกำจัดไป เป้าหมาย:ลดการใช้สารเคมี ทำลาย และยับยั้ง การเจริญเติบโตของเชื้อรา เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย ลดการแพร่กระจายเชื้อโรคในอากาศ กำจัดกลิ่นอับชื้น ดูแลสภาพอากาศ สิ่งแวดล้อมภายในอาคาร และไม่มีสารเคมีตกค้างภายในอาคาร กระบวนการ: กำหนดพื้นที่ แผนงาน ผู้รับผิดชอบ และดำเนินการอบนอกเวลางาน ปิดเครื่องก่อนเปิดห้อง 30 นาที รวมทั้งเผยแพร่ให้ความรู้แก่ผู้ใช้บริการ ประโยชน์ที่ได้รับ :ทำลายเชื้อโรค เชื้อรา และลดมลภาวะภายในอาคาร และลดการใช้สารเคมี ทำให้ผู้ใช้บริการอาคารสถานที่พึงพอใจ ความโดดเด่น:โอโซนกำจัดเชื้อโรค ทำลายผนังเซลของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก และกำจัดกลิ่นเหม็นอับชื้น ดีกว่าการใช้สารเคมี และไม่มีสารเคมีตกค้าง ผู้รับผิดชอบ : อาจารย์พัชรี แก้วเกตุ แผนกบริการอาคารสถานที่กล้วยน้ำไท
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ปีการศึกษา 2554 :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: แนวปฏิบัติที่ดี : Best Practices ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 การจัดบริการด้านกายภาพแก่นักศึกษาและคณาจารย์ 6. ศึกษาและวิเคราะห์กระบวนการลบกระดานไวท์บอร์ดให้ปราศจากคราบหมึก หลักการ :ปัญหากระดานไวท์บอร์ดที่ติดตั้งในห้องเรียนลบกระดานออกไม่เกลี้ยงมีรอยคราบหมึกติดค้างอยู่ ดังนั้นจึงต้องศึกษาแนวทางแก้ไข เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ผู้ใช้บริการห้องเรียน เป้าหมาย:เพื่อหาสาเหตุการลบกระดานไวท์บอร์ดไม่เกลี้ยง วิเคราะห์กระบวนการลบกระดานไวท์บอร์ด ศึกษาผิวหน้ากระดานไวท์บอร์ดที่มีปัญหาที่ใช้อยู่ที่วิทยาเขตรังสิต และอำนวยความสะดวกสบายในการใช้กระดานไวท์บอร์ดเพื่อการเรียน การสอนสำหรับคณาจารย์ < ห้องเรียน ตัวอย่าง > ความโดดเด่น: มหาวิทยาลัยสามารถเลือกใช้กระดานไวท์บอร์ดที่มีคุณภาพสร้างความพึงพอใจผู้ใช้บริการ และประหยัดค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมหรือเปลี่ยนกระดานไวท์บอร์ด กระบวนการ: การทำวิจัยในงานประจำด้วยการทดลองเขียนและลบกระดานห้องเรียนและกระดานไวท์บอร์ดตัวอย่าง ประโยชน์ที่ได้รับ :สามารถเลือกกระดานไวท์บอร์ด และปากกาไวท์บอร์ดที่มีคุณภาพ และสามารถแก้ไขปัญหาการลบกระดานไวท์บอร์ดให้ปราศจากคราบหมึกตกค้างกระดานสะอาดทำให้มีความสะดวกสบายในการเรียน การสอน ผู้รับผิดชอบ : อาจารย์บุญชอบ พรรณนิกร แผนกบริการอาคารสถานที่รังสิต
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ปีการศึกษา 2554 :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: แนวปฏิบัติที่ดี : Best Practices ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 การจัดบริการด้านกายภาพแก่นักศึกษาและคณาจารย์ 7.การประยุกต์โปรแกรม Microsoft Excel ใช้บริหารจัดการงานรับแจ้งซ่อม หลักการ :การติดต่อแจ้งซ่อมเป็นประจำวันมีจำนวนมาก จึงทำให้ข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นในการบริหารจัดการไม่สมบูรณ์ ดังนั้นการบริหารงานรับแจ้งซ่อมจึงต้องใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการจัดการฐานข้อมูล เป้าหมาย: เพื่อรวบรวมข้อมูลการแจ้งซ่อมให้เป็นฐานข้อมูล ผู้ปฏิบัติงานทราบสถานะงานและรายงานผลได้ง่าย และข้อมูลงานซ่อมแซมประจำเดือนเป็นปัจจุบัน ความโดดเด่น:เป็นการปรับปรุงกระบวนการทำงานเพื่อเพิ่มศักยภาพการให้บริการและสร้างความเชื่อมั่นต่อการบริการ และสามารถเผยแพร่ข้อมูลเพื่อขยายผลการบริการแก่สาธารณะ กระบวนการ: รวบรวม และศึกษาปัญหา ออกแบบหน้าโปรแกรม Microsoft Excel. ทดลองการใช้งาน และรวบรวมข้อมูลผลการดำเนินงาน ประโยชน์ที่ได้รับ :ปรับวิธี กระบวน การรับแจ้งซ่อม ให้ง่ายและสะดวกรวดเร็วขึ้น มีฐานข้อมูลนำไปใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนงาน ปรับวิธีการทำงาน ปรับบุคลากร และอุปกรณ์ เครื่องจักร ได้รับการแก้ไขรวดเร็วขึ้น หรือติดตามงานที่ยังไม่แล้วเสร็จได้อย่างต่อเนื่อง สร้างความพึงพอใจให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย < ก่อน หลัง > ผู้รับผิดชอบ : อาจารย์ไพบูลย์ นาสำราญ แผนกซ่อมบำรุงรังสิต
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ปีการศึกษา 2554 :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: แนวปฏิบัติที่ดี : Best Practices ตัวบ่งชี้ที่ 6.4 การพัฒนาสุนทรียภาพด้านอาคารสถานที่ในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม หลักการ : ความสวยงามและภาพลักษณ์ของสำนักงานใหม่ ด้วยการนำงานกราฟิกไปใช้ในการตกแต่งอย่างสร้างสรรค์ 8. การนำกราฟิกไปใช้ในงานตกแต่งภายใน ศูนย์คอมพิวเตอร์ อาคาร 9 ชั้น 7 วิทยาเขตกล้วยน้ำไท เป้าหมาย:สะท้อนภาพลักษณ์ของศูนย์คอมพิวเตอร์ และการลดต้นทุนในการผลิตงานกราฟิก กระบวนการ:ออกแบบสะท้อนภาพลักษณ์ศูนย์ คอมพิวเตอร์ ทำ Artwork หน้างาน และมีการตกแต่งด้วยสติ๊กเกอร์ที่ผลิตเอง ประโยชน์ที่ได้รับ :สะท้อนภาพลักษณ์ศูนย์คอมพิวเตอร์ และลดต้นทุนการผลิตงานกราฟิก ความโดดเด่น :เผยแพร่ภาพผลงานทางอีเมล์ และเว็บไซต์ฝ่ายอาคารสถานที่ โดยจะนำกราฟิกไปใช้ในงานตกแต่งภายในห้องปฏิบัติการคณะวิศวกรรมศาสตร์ BU CROCS ชั้น 6 อาคาร 9 วิทยาเขตรังสิต ในปีการศึกษาต่อไป ผู้รับผิดชอบ : อาจารย์ธิดาใจ จันทร์นามศรี แผนกออกแบบก่อสร้าง
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ประจำปีการศึกษา 2554 :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ ::
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ประจำปีการศึกษา 2554 :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: : :::ทิศทางการพัฒนา ::: : ฝ่ายอาคารสถานที่ปีการศึกษา 2554
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ปีการศึกษา 2554 :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: แผนปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2555 17 โครงการ BU STG 1: Competitive &(Financially) Sustainable Organization โครพิชิตสุดยอดองค์กรแห่งความเป็นเลิศ – รอ. การพัฒนาบุคลากรปฏิบัติงานด้วยความประทับใจ – บอก./บอร. การพัฒนารายได้จากแหล่งใหม่ – อก. BU STG 4: Research การวิจัยและพัฒนาองค์กรแห่งการสื่อสารยุคใหม่ – รอ. BU STG 6: Collaboration การพัฒนาบุคลากรสู่ภาวะผู้นำพันธุ์แท้ – รอ. • BU STG 1: Competitive &(Financially) Sustainable Organization • โครงการสร้างนวัตกรรม - อก. • การสร้าง Cover Walk Way - อก. • BU STG 2: Creative University • การศึกษาเทคโนโลยีพลังงานสะอาด – ซบร. • การพัฒนาการบริหารความปลอดภัย– บอร. • Green-R2R จากงานประจำสู่งานวิจัยพิทักษ์โลก – รอ. • BU STG 4: Research • การศึกษาปัญหาสายฉีดน้ำชำระชำรุดบ่อย • วิทยาเขตกล้วยน้ำไท– ซบก. 2. R Resource Use 6 โครงการ BU STG 2: Creative University ห้องน้ำสมุนไพรอนามัย – บอก./บอร. 5. N Nationality 3. E Economy 1. G Globalization 1 โครงการ 2 โครงการ 5 โครงการ BU STG 2: Creative University คลังความรู้น่าตื่นเต้น – รอ. BU STG 5: Internationalization โครงการบุคลากรหนึ่งใจเดียวกันรวมพลังสู่อาเซียน – รอ. 4. E Environment & Energy BU STG 1: Competitive &(Financially) Sustainable Organization การพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพคุณภาพอากาศในห้อง – บอก./บอร. STG 5: Internationalization Green Creative Campus Initiative – รอ. STG 2: Creative University นวัตกรรมพลังงานมาตรฐาน – ซบก. 3 โครงการ
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ปีการศึกษา 2554 :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: Tourism Tower
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ปีการศึกษา 2554 :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: Center for Cinematic and Digital Arts
รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ปีการศึกษา 2554 :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: Imagine Village
คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน รายงานการประเมินตนเอง ครั้งที่ 11 ฝ่ายอาคารสถานที่ ปีการศึกษา 2554 :: การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ :: ขอขอบคุณ จากใจบุคลากรฝ่ายอาคารสถานที่