1 / 13

กำหนดประเภท และขนาดโครงการที่มีผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงฯ จำนวน 11 ประเภท

leanna
Download Presentation

กำหนดประเภท และขนาดโครงการที่มีผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงฯ จำนวน 11 ประเภท

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ตาม พรบ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 และมาตรา 67 ของรัฐธรรมนูญปี 50 กำหนดประเภท และขนาดโครงการที่มีผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงฯ จำนวน 11 ประเภท งานชลประทานและการพัฒนาแหล่งน้ำ เขื่อนเก็บกักน้ำ หรืออ่างเก็บน้ำ - ที่มีปริมาตรเก็บกักน้ำตั้งแต่ 100 ล้าน ลบ.ม. ขึ้นไป - ที่มีพื้นที่เก็บกักน้ำตั้งแต่ 15 ตร.กม.(9,375 ไร่) ขึ้นไป

  2. EIA+HIA โครงการของกรมชลประทานที่ต้องทำการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม

  3. แนวทางการดำเนินการ 1. จัดทำรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment, EIA) และรายงานการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (Health Impact Assessment, HIA) ระยะเวลาในการศึกษาประมาณ 15 เดือน 2. เสนอรายงานฯ ให้ สผ. ตรวจสอบความถูกต้องเบื้องต้นของรายงานฯ ก่อนเพื่อนำเข้าสู่การพิจารณาของ คชก. 3. ส่วนราชการ/เจ้าของโครงการ ดำเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามกระบวนการรับฟังความคิดเห็น (เมื่อ คชก. เห็นชอบกับรายงานฯ) 4. สผ. ส่งข้อมูลให้องค์กรอิสระพิจารณาให้ความเห็นประกอบ 5. สผ. นำผลการพิจารณาของ คชก. พร้อมด้วย ผลการรับฟังความคิดเห็น และความเห็นขององค์กรอิสระ เสนอ กก.วล. พิจารณาเพื่อให้ความเห็นประกอบการพิจารณาของ ครม. ต่อไป

  4. ขั้นตอนการพิจารณารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมฯ กรณีโครงการภาครัฐ ซึ่งต้องเสนอขอความเห็นชอบจาก ครม. รัฐ รัฐวิสาหกิจ จัดทำรายงานตั้งแต่ขั้นศึกษาความเหมาะสมของโครงการ ไม่เห็นชอบ คชก. พิจารณารายงาน เห็นชอบ ส่งรายงาน EIA และสรุปสาระสำคัญ ของมาตรการ หน่วยงานเจ้าของโครงการจัดรับฟังความคิดเห็นของประชาชน องค์กรอิสระให้ความเห็นประกอบ ส่งผลการพิจารณา ของ คชก. สผ. สผ. เสนอความเห็น คชก. และองค์กรอิสระ และรายงานรับฟังความคิดเห็นของประชาชน สผ. สรุปความเห็นของ คชก. กก.วล. เสนอความเห็น บุคคล/สถาบัน ผู้เชี่ยวชาญเสนอความเห็น คณะรัฐมนตรี พิจารณา

  5. EIA โครงการของกรมชลประทานที่ต้องทำการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม

  6. พื้นที่ชุ่มน้ำ คำอธิบาย แหล่งน้ำไหล(riverine) ได้แก่ แม่น้ำ ลำธาร ลำคลอง ลำห้วย ที่มีน้ำไหลตลอดปี หรือน้ำไหลบางฤดู ฝั่งแม่น้ำหรือหาดแม่น้ำ หรือสันทราย หมายรวมถึงที่ลุ่มริมฝั่งแม่น้ำ ได้แก่ที่มีน้ำท่วมขังเป็นบางครั้งบางคราว เช่น แอ่งน้ำ วังน้ำในแม่น้ำ ทุ่งน้ำจืด เป็นต้น ทะเลสาบหรือบึง (Iacustrine) ได้แก่ แหล่งน้ำขนาดใหญ่ หรือพื้นที่ที่มีน้ำขังตลอดเวลา หรือบางฤดู และมีกระแสน้ำไหลเล็กน้อย มีความลึกมากกว่า 2 เมตร และมีพื้นที่น้ำน้อยกว่าร้อยละ 30 ของผิวน้ำ เช่น ทะเลสาบ บึงต่างๆ ที่ลุ่มชื่นแฉะ หรือหนองน้ำ (palustrine) ได้แก่ พื้นที่ที่มีน้ำท่วมขังอยู่ตลอดเวลา หรือบางฤดู มีความลึกไม่เกิน 2 เมตร และมีพื้นที่น้ำปกคลุมมากกว่าร้อยละ 30 ของผิวน้ำ ได้แก่ ที่ลุ่มชื้นแฉะ (marsh) ที่ลุ่มสนุน ,หนองน้ำซับ (bog) ที่ลุ่มน้ำขัง (swamp) เป็นต้น พื้นที่ชุ่มน้ำในเขต สชป. 3ที่มีความสำคัญระดับชาติ 1.แม่น้ำปิง ที่ไหลผ่านจังหวัดกำแพงเพชร ไปบรรจบแม่น้ำยมและน่านที่ปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์ 2.แม่น้ำน่านที่ไหลผ่านจังหวัดน่าน จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดพิจิตร และบรรจบแม่น้ำปิงที่ตำบลแควใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ 3.แม่น้ำยมที่ไหลผ่านจังหวัดสุโขทัย จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดพิจิตร และบรรจบแม่น้ำน่านที่ตำบลเกยชัย อำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ ที่มีความสำคัญระดับนานาชาติ 1.ที่ราบลุ่มน้ำยม อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 2.บึงสีไฟ อ.เมือง จ.พิจิตร 3.บึงบอระเพ็ค อ.เมือง อ.ชุมแสง อ.ท่าตะโก จ.นครสวรรค์

  7. พื้นที่ชุ่มน้ำ พื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับท้องถิ่น มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ 2 ข้อ ดังนี้ 1.พื้นที่ชุ่มน้ำจะได้รับการ พิจารณาว่ามีความสำคัญระดับท้องถิ่น หากเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำในบัญชีรายชื่อแหล่งธรรมชาติอันควรอนุรักษ์ของท้องถิ่นตามมติคณะรัฐมนตรี (7 พ.ย. 2532) 2.เกณฑ์ที่ประเมินจากความสำคัญที่มีต่อท้องถิ่น พื้นที่ชุ่มน้ำจะได้รับการพิจารณาว่ามีความสำคัญระดับท้องถิ่น หากมีความสำคัญต่อวิถีชีวิตชุมชนท้องถิ่นไทยเป็นแหล่งกำเนิดของปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีพ เช่น เป็นแหล่งน้ำ แหล่งอาหาร สมุนไพร เชื่อเพลิง พืชเส้นใย และวัตถุดิบในการประกอบอาชีพ หรือ มีคุณค่าทางสังคม ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา ประวัติศาสตร์ ตำนานพื้นบ้าน นันทนาการท้องถิ่น ตลอดจนเป็นเส้นทางสัญจร หรือ มีความสำคัญต่อระบบนิเวศท้องถิ่น เช่นช่วยป้องกันน้ำท่วม ช่วยรักษาสมดุลของภูมิอากาศเฉพาะถิ่น ช่วยรักษาคุณภาพน้ำ พื้นที่ชุ่มน้ำในเขต สชป. 3ระดับท้องถิ่น มีรายละเอียดแนบหนังสือที่ พล 0013/ว.1285 (จำนวน 28 แผ่น) ต้องแนบรายงานรายการข้อมูลวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ตามแบบฟอร์ม สผ.)ต้องแนบรายงานฯ ประกอบการขออนุญาตใช้พื้นที่ ปีงบประมาณ 53 ส่วนวิศวกรรมบริหาร สชป.3 ได้ดำเนินการจัดทำรายงานรายการข้อมูลวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (ตามแบบฟอร์ม สผ.) ตามคำร้องขอจากโครงการ จำนวน 6 โครงการ เช่น โครงการก่อสร้างฝายและระบบส่งน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำต๊ะ-น้ำรี 4 โครงการ โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยเกี๋ยงผา จังหวัดอุตรดิตถ์ และโครงการก่อสร้างฝายชั่วคราวกั้นแม่น้ำปิง หัวงานที่ 4 จังหวัดนครสวรรค์

  8. EC โครงการของกรมชลประทานที่ต้องทำการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม

  9. โครงการฝายห้วยพญา โครงการฝายห้วยน้ำต๊ะ 1 โครงการฝายห้วยน้ำต๊ะ 3 โครงการฝายห้วยรีใหญ่ 1 โครงการฝายชั่วคราวกั้นแม่น้ำปิง โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยเกี๋ยงผา

  10. จบการนำเสนอ

More Related