500 likes | 759 Views
การบริหาร จัดการด้านการเงิน ภาครัฐ และระเบียบเบิกจ่ายฯ. กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550. มาตรา 78 (4) (5) รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการ บริหารราชการแผ่นดินดังต่อไปนี้ (4) พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการ พัฒนาคุณภาพ คุณธรรม และ
E N D
การบริหาร จัดการด้านการเงินภาครัฐ และระเบียบเบิกจ่ายฯ กิ่งกาญจน์ ภู่ทองตระกูล
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 78 (4) (5) รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการ บริหารราชการแผ่นดินดังต่อไปนี้ (4) พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรม และ จริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ควบคู่ไปกับการปรับปรุงรูปแบบและวิธีการ ทำงาน เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐใช้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเป็นแนว ทางในการปฏิบัติราชการ (5) จัดระบบงานราชการและงานของรัฐอย่างอื่น เพื่อให้การจัดทำและการให้ บริการสาธารณะเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบ ได้ โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน 2
กฎหมายและระเบียบการคลังกฎหมายและระเบียบการคลัง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พรบ.วิธีการงบประมาณ พรบ.เงินคงคลัง ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ ระเบียบการเบิกจ่ายเงินการเก็บรักษา เงินและการนำส่งคลังของส่วนราชการ ระเบียบเงินทดรองราชการ ระเบียบค่าใช้จ่ายเดินทาง/ฝึกอบรม ระเบียบค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการ บริหารงาน พรฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารจัดการที่ดี พ.ศ. 2546
ประเภทของเงินราชการ • เงินงบประมาณ • เงินนอกงบประมาณ • เงินรายได้แผ่นดิน • เงินนอกราชการ
การเบิกจ่ายเงินงบประมาณการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ประกาศใช้ พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีแล้ว ต้องได้รับเงินประจำงวดแล้ว มีข้อผูกพันหรือมีความจำเป็นต้องจ่ายให้เจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิ หนี้ต้องถึงกำหนดหรือใกล้ถึงกำหนดต้องจ่าย
การจ่ายเงินงบประมาณ (รัฐธรรมนูญ 50 ม.169) กฏหมาย กระทรวงการคลัง ระเบียบ มติ ครม. ข้อบังคับ คำสั่ง
กระบวนการบริหารจัดการกระบวนการบริหารจัดการ Input Process Output ทรัพยากร ผลสำเร็จ/ผลสัมฤทธิ์ การดำเนินงาน สินค้า/บริการ ความคาดหวัง ประสิทธิผล ประหยัด Outcome ประสิทธิภาพ /ผลิตภาพ ความคุ้มค่า
การจำแนกงบประมาณรายจ่ายการจำแนกงบประมาณรายจ่าย มี 2 ลักษณะ รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ รายจ่ายงบกลาง
รายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจรายจ่ายของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ • งบบุคลากร • งบดำเนินงาน • งบลงทุน • งบเงินอุดหนุน • งบรายจ่ายอื่น แต่ละงบสามารถโอนเปลี่ยนแปลงได้
การเบิกจ่ายงบดำเนินงานการเบิกจ่ายงบดำเนินงาน ค่าตอบแทน ใช้สอย วัสดุ ค่าสาธารณูปโภค รวมถึงรายจ่ายจากงบรายจ่ายอื่นใดในลักษณะเดียวกัน
ค่าตอบแทน เป็นเงินที่จ่ายให้แก่ผู้ปฏิบัติงานให้แก่ทางราชการในลักษณะ เงินเดือน (ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง) นอกเหนือเงินเดือน นอกเวลาราชการปกติ เงินเพิ่มรายเดือน นอกเหนืองานในหน้าที่ เป็นไปตามกระทรวงการคลังกำหนด จะกำหนดขึ้นเองไม่ได้
ค่าตอบแทนนอกเหนือจากงานในหน้าที่ ค่าเช่าบ้านข้าราชการ ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลา ค่าตอบแทนตรวจการจ้าง/ควบคุมงาน เบี้ยประชุมกรรมการ ค่าตอบแทนรายเดือนสำหรับปฏิบัติงานในเขตพื้นที่พิเศษ ค่าตอบแทนเหมาจ่ายแทนการจัดหารถประจำตำแหน่ง
ค่าใช้สอย เป็นรายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ (ยกเว้นค่าสาธารณูปโภค) รายจ่ายเกี่ยวกับการรับรองและ พิธีการและรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่อง กับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้า ลักษณะรายจ่ายอื่น ๆ ค่าจ้างเหมาบริการ ค่าเบี้ยประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไปราชการ ค่าของขวัญ อื่นๆ
ค่าวัสดุ เป็นรายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของซึ่งโดยสภาพแล้วย่อม สิ้นเปลืองหมดไป แปรสภาพหรือไม่คงสภาพเดิมหรือ สิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวรและมีราคาต่อหน่วยหรือ ต่อชุดไม่เกิน 5,000 บาท รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สินเพื่อให้ใช้ งานได้ตามปกติ
ค่าสาธารณูปโภค ค่าไฟฟ้า ค่าประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการไปรษณีย์ ชำระภายใน 15 วัน ไม่พอ โอนหมวดอื่น ใช้เงินนอกงบประมาณ 2 เดือนสุดท้าย (ส.ค. - ก.ย.)
ค่าสาธารณูปโภค การเบิกจ่ายเงินค่าโทรศัพท์ โทรศัพท์พื้นฐาน • สถานที่ราชการ • บ้านพัก (เหมาจ่าย 400 บาท) หมายเลข 02 • วิทยุสื่อสารเคลื่อนที่ (ว.73/ว.108) • สถานที่ราชการ • ถือครอง (จ่ายจริงไม่เกินที่ กค.กำหนด)
หลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทน กระทรวงการคลัง
ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่าย เงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2550
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงิน ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2550 ผู้มีสิทธิ จากเงิน งปม. ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ/ชั่วคราว พนักงานราชการ ผู้รับจ้างเหมาบริการ(ตามเงื่อนไขสัญญา)
ลูกจ้างประจำและลูกจ้างชั่วคราวที่ได้รับค่าจ้างจากเงินงบประมาณ มีสิทธิได้รับเงินตอบแทนฯ ตามระเบียบว่าด้วยการจ่ายค่าจ้างลูกจ้างของส่วนราชการ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยให้นำหลักเกณฑ์และอัตราเงินตอบแทนตามระเบียบนี้มาใช้โดยอนุโลม
พนักงานราชการมีสิทธิได้รับเงินตอบแทนฯ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547 และประกาศคณะกรรมการ บริหารพนักงานราชการ เรื่อง ค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ของพนักงานราชการ (ฉบับที่ 3)
ค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ หมายถึง เงินที่จ่ายให้แก่ข้าราชการที่ปฏิบัติงานตามหน้าที่ ปกติโดยลักษณะงาน ส่วนใหญ่ต้องปฏิบัติงานใน ที่ตั้งสำนักงาน หรือ โดยลักษณะงานส่วนใหญ่ต้องปฏิบัติงานนอก ที่ตั้งสำนักงานและได้ปฏิบัติงานนั้น นอกเวลาราชการ นอกที่ตั้งสำนักงานและหรือ โดยลักษณะงานปกติต้องปฏิบัติงานในลักษณะ เป็นผลัดหรือกะและได้ปฏิบัติงานนั้นนอกผลัดหรือ นอกกะของตน
การปฏิบัติงานเป็นกะหรือผลัดการปฏิบัติงานเป็นกะหรือผลัด หมายถึง การปฏิบัติงานประจำตามหน้าที่ปกติของ ขรก. ในส่วนราชการนั้น ๆ ซึ่งจัดให้มีการปฏิบัติงานผลัด เปลี่ยนหมุนเวียนกันตลอด 24 ชั่วโมง ในช่วงเวลาที่ปฏิบัติงานดังกล่าวซึ่งถือเป็นเวลาราชการปกติของ ขรก.ผู้นั้น ทั้งนี้ การปฏิบัติงานในผลัดหรือกะหนึ่ง ๆ ต้องมีเวลาไม่น้อยกว่า 7 ชั่วโมง (ไม่รวมเวลาหยุดพัก)”
ลักษณะงานนอกเวลาราชการลักษณะงานนอกเวลาราชการ ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการในสำนักงาน ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการนอกที่ตั้งสำนักงาน ปฏิบัติงานนอกเวลาผลัด / กะ
หลักเกณฑ์ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ปกตินอกเวลาราชการ ได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจก่อน กรณีเร่งด่วนต้องปฏิบัติงานนอกเวลา โดยยังไม่ ได้รับอนุมัติให้รีบขออนุมัติโดยไม่ชักช้า
หลักเกณฑ์ • ข้าราชการผู้ได้รับคำสั่งให้เดินทาง ไปราชการไม่มีสิทธิได้รับเงินตอบแทนนอกเวลาราชการ เว้นแต่ ได้รับอนุมัติให้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการก่อนการเดินทาง เมื่อการเดินทางไปราชการนั้นเสร็จสิ้นหรือเสร็จสิ้นการฝึกอบรมในแต่ • ละวันกลับถึงสำนักงานในวันเดียวกัน ให้เบิกค่าตอบ • แทนได้
การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการหลายช่วงเวลาภายในวันเดียวกันให้นับเวลาปฏิบัติงานนอกเวลาราชการทุกช่วงเวลารวมกัน เพื่อเบิกเงินตอบแทนสำหรับวันนั้น การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการที่มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนอื่นของทางราชการสำหรับการปฏิบัติงานนั้นแล้ว ให้เบิกได้ทางเดียว
กรณีมีความจำเป็นต้องปฏิบัติงานซึ่งเป็นภารกิจหลักของหน่วยงานเป็นครั้งคราวหรือเป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลที่มอบหมายให้หน่วยงานปฏิบัติ โดยมีกำหนดระยะเวลาแน่นอนและมีลักษณะเร่งด่วน เพื่อมิให้เกิดความเสียหายแก่ราชการหรือประโยชน์สาธารณะ หัวหน้าส่วนราชการอาจสั่งการให้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการติดต่อกัน โดยให้มีสิทธิเบิกเงินตอบแทนเป็นรายครั้งไม่เกินครั้งละ 7 ชั่วโม ในอัตราชั่วโมงละ 60 บาท
การเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการของลูกจ้างส่วนราชการการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการของลูกจ้างส่วนราชการ สำหรับลูกจ้างชั่วคราว ที่ได้รับค่าจ้างจากเงินบำรุง สามารถเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการได้ ตามหลักเกณฑ์และอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด แต่ ต้องเบิกจ่ายจากเงินบำรุง
การเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการนอกที่ตั้งการเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการนอกที่ตั้ง กระทรวงการคลังอนุมัติให้ สป. เบิกจ่ายค่าตอบแทนปฏิบัติงาน งานนอกเวลาราชการให้เจ้าที่ที่ออกปฏิบัติงานตามภารกิจที่รับ ผิดชอบนอกที่ตั้งสำนักงานได้ ตามหลักเกณฑ์และอัตราตาม ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายเงินตอบแทนการ ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2536 (ปัจจุบันปี 50) ตั้งแต่ปี งบประมาณ พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป ตามหนังสือ กค 0409.7/29071 ว. 18 ตค. 48
การเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการนอกที่ตั้งการเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการนอกที่ตั้ง • งานภารกิจที่รับผิดชอบ ซึ่งเป็นงาน งานส่งเสริม ควบคุม ป้องกัน • เช่น • ออกตรวจแหล่งแพร่เชื้อในสถานบันเทิง • ออกตรวจสารตกค้างในอาหารที่ตลาดสด • การอยู่ร่วมกับด่านตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์และสารเสพติด • การออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ • การออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยหลังเวลาราชการ หรือ • ออกรถประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่ • และงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม ควบคุม และป้องกันโรค
ค่าเบี้ยเลี้ยง เป็นการจ่ายเงินค่าใช้สอยให้ไปปฏิบัติราชการชั่วคราว นอกที่ตั้งสำนักงาน และได้รับคำสั่งผู้บังคับบัญชา ตาม กฤษฎีกาค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ ตามอัตราที่กำหนด ถึงแม้ว่าจะไปปฏิบัติราชการนอกเวลาราชการก็ไม่สามารถ เบิกค่าตอบแทนนอกเวลาได้
เบิกไม่ได้ อยู่เวรรักษาการณ์ตามระเบียบว่าด้วยการ รักษาความปลอดภัยแห่งชาติหรือตามระเบียบหรือคำสั่งที่เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยสถานที่ราชการ การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการไม่เต็ม จำนวนชั่วโมง
อัตราการจ่ายค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการอัตราการจ่ายค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ตามข้อหารือการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานนอกเวลา ที่ สธ 0201.046.1/20810 ลว. 19 ธันวาคม 2551 อัตราการเบิกค่าตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ให้พิจารณาตามคำสั่งมอบหมายให้ปฏิบัติงานในหน้าที่ใด
ค่าใช้สอย เป็นรายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ (ยกเว้นค่าสาธารณูปโภค) รายจ่ายเกี่ยวกับการรับรองและ พิธีการและรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่อง กับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้า ลักษณะรายจ่ายอื่น ๆ ค่าจ้างเหมาบริการ ค่าเบี้ยประกันภัย ค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไปราชการ ค่าของขวัญ อื่นๆ
ค่าวัสดุ เป็นรายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของซึ่งโดยสภาพแล้วย่อม สิ้นเปลืองหมดไป แปรสภาพหรือไม่คงสภาพเดิมหรือ สิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวรและมีราคาต่อหน่วยหรือ ต่อชุดไม่เกิน 5,000 บาท รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สินเพื่อให้ใช้ งานได้ตามปกติ
ค่าสาธารณูปโภค ค่าไฟฟ้า ค่าประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการไปรษณีย์ ชำระภายใน 15 วัน ไม่พอ โอนหมวดอื่น ใช้เงินนอกงบประมาณ 2 เดือนสุดท้าย (ส.ค. - ก.ย.)
ค่าสาธารณูปโภค การเบิกจ่ายเงินค่าโทรศัพท์ โทรศัพท์พื้นฐาน • สถานที่ราชการ • บ้านพัก (เหมาจ่าย 400 บาท) หมายเลข 02 • วิทยุสื่อสารเคลื่อนที่ (ว.73/ว.108) • สถานที่ราชการ • ถือครอง (จ่ายจริงไม่เกินที่ กค.กำหนด)
การเบิกจ่ายงบรายจ่ายอื่นการเบิกจ่ายงบรายจ่ายอื่น เป็นรายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะงบรายจ่ายใดหรือเป็นรายจ่ายที่สำนักงบประมาณกำหนดให้จ่ายในงบรายจ่ายอื่น เช่น เงินราชการลับ คชจ.ไปราชการต่างประเทศ คชจ.สำหรับกองทุนหรือเงินหมุนเวียน คชจ.ในการทำวิจัย
รายจ่ายงบกลาง รายการที่มีวัตถุประสงค์เป็นการ เฉพาะ ประกอบด้วย • เงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น • คชจ. ตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ • คชจ. เกี่ยวกับการเสด็จพระราชดำเนินและต้อนรับ • ประมุขต่างประเทศ • เงินชดเชยค่างานก่อสร้าง (โดยสำนักงบประมาณ)
ประเภทเงินสวัสดิการ รายจ่าย งบกลาง • ค่ารักษาพยาบาล/ศึกษาบุตร ขรก. ลูกจ้าง พนักงานฯ • เบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ • เงินช่วยเหลือ ขรก.ลูกจ้าง พนักงานฯ • เงินเลื่อนขั้นเลื่อนเงินเดือน และเงินปรับวุฒิ ขรก. • เงินสำรอง เงินสมทบและเงินชดเชยของ ขรก. • เงินสมทบลูกจ้างประจำ (โดยกรมบัญชีกลาง)
เงินนอกงบประมาณ เงินทั้งปวงที่อยู่ในความรับผิดชอบ ของส่วนราชการนอกจากเงินงบประมาณ รายจ่าย เงินรายได้แผ่นดิน เงินเบิก เกินส่งคืน เงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน
พ.ร.บ. เงินคงคลัง พ.ศ. 2491 เงินนอกงบประมาณ มาตรา 4 บรรดาเงินทั้งปวงที่พึงชำระให้แก่รัฐบาล เช่นภาษีอากร ค่าธรรมเนียมค่าปรับ เงินกู้หรือเงินอื่นใด ส่วนราชการ ต้องนำส่งคลัง โดยไม่หักเงินไว้เพื่อการใด ๆ เว้นแต่ 1. รายจ่ายที่หักนั้นเป็นรายจ่ายที่กม.อนุญาตให้จ่ายได้ 2. รายจ่ายที่จำเป็นต้องจ่ายที่ได้รับความตกลงจาก กค. เพื่อเป็นค่าสินบนรางวัล หรือค่าใช้จ่ายในการจัดให้ไดมา ซึ่งเงินอันพึงชำระให้รัฐบาล 3. รายจ่ายที่ต้องจ่ายคืนให้แก่บุคคลใด ๆ เพราะเป็น เงินอันไม่พึงต้องชำระให้แก่รัฐบาล
พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 24 เงินที่ส่วนราชการรับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ ไม่ว่าจะได้รับตาม กม.หรือระเบียบข้อบังคับ หรือได้รับตามอำนาจหน้าที่หรือ สัญญาหรือได้รับจากการให้ใช้ท/สหรือเก็บดอกผลจาก ทรัพย์สิน ให้นำส่งคลัง เว้นแต่จะมีกม.กำหนดเป็นอย่างอื่น
พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 24 เงินบริจาค 1. เงินที่มีผู้มอบให้ โดยมีวัตถุประสงค์ให้ส่วนราชการนั้นใช้จ่าย ในกิจการของส่วนราชการ 2. เงินที่เกิดจากทรัพย์สินซึ่งมีผู้มอบให้เพื่อหาดอกผลใช้จ่ายใน กิจการให้ส่วนราชการนั้นจ่ายเงิน และให้ก่อหนี้ผูกพันภายใน วงเงินที่ได้รับ และไม่ต้องส่งคลัง
พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 มาตรา 24 เงินช่วยเหลือต่างประเทศ เงินที่ส่วนราชการได้รับตามโครงการช่วยเหลือหรือร่วมมือกับ รัฐบาลต่างประเทศ องค์การสหประชาชาติ ทบวงการชำนัญพิเศษ องค์การระหว่างประเทศ หรือบุคคลใด ไม่ว่าจะเป็นเงินกู้หรือ เงินให้เปล่า รวมทั้งเงินที่ได้รับสืบเนื่องจากโครงการช่วยเหลือ หรือร่วมมือเช่นว่านั้น
พ.ร.บ. วิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 เงินที่ส่วนราชการได้รับโดยไม่ต้องนำส่งคลัง 1. เงินที่ได้รับในลักษณะค่าชดใช้ความเสียหายหรือสิ้นเปลืองแห่งทรัพย์สิน และจำเป็นต้องจ่ายเพื่อบูรณะทรัพย์สินหรือจัดให้ได้ทรัพย์สินคืนมา 2. รายรับของสถานพาบาล สถานศึกษา หรือสถานอื่นใดที่อำนวยบริการ อันเป็นสาธารณะประโยชน์หรือประชาสงเคราะห์ 3. เงินที่ได้รับในลักษณะผลพลอยได้จากการปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ กรณีได้รับเงินตามโครงการช่วยเหลือหรือร่วมมือกับรัฐบาลต่างประเทศ องค์การสหประชาชาติ องค์การระหว่างประเทศอื่นใด หรือบุคคลใด ไม่ว่า จะเป็นเงินให้กู้หรือให้เปล่า รวมทั้งเงินที่ส่วนราชการได้รับสืบเนื่องจากโครง การช่วยเหลือหรือร่วมมือ รัฐมนตรีจะกำหนดเป็นอย่างโดยไม่ต้องส่ง