1 / 19

III. ORGANIC REACTIONS: FREE RADICAL VS IONIC

· ·. ׃ X ·. · ·. · ·. · ·. · ·. H—O ·. N—O ·. · ·. · ·. · ·. · ·. · O—O ·. · ·. · ·. C ·. III. ORGANIC REACTIONS: FREE RADICAL VS IONIC .

leander
Download Presentation

III. ORGANIC REACTIONS: FREE RADICAL VS IONIC

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. · · ׃X · · · · · · · · · H—O · N—O · · · · · · · · · · O—O · · · · · C · III. ORGANIC REACTIONS:FREE RADICAL VS IONIC Free radical คืออะตอมหรือกลุ่มของอะตอมที่มีอิเล็กตรอนเดี่ยวตั้งแต่หนึ่งอิเล็กตรอน เช่น อะตอม Halogens, Alkali metals หรือแม้แต่O2ซึ่งเป็นDiradicalพวก Free radical อาจจะเป็นพวกที่มีประจุหรือไม่มีก็ได้ แต่ Free radical มีความว่องไวต่อปฏิกิริยาเคมีเนื่องจากมันต้องการให้อิเล็กตรอนเข้าคู่ทั้งหมด Free radical มีความสำคัญทั้งในการสังเคราะห์สาร ในระบบชีวภาพ เช่นที่เกิดการสลายตัวให้ Free radical Ag · Na · Halogen atoms (e.g. F, Cl, Br)Silver atom Sodium atom Carbon radical Nitroxyl radical Hydroxyl radical Oxygen molecule

  2. A : B  A+ + :B-การแตกพันธะแบบเฮตเทอโรลิซิส A : B  A+ Bการแตกพันธะแบบโฮโมลิซิส H3C-Br + K+OH-H3C-OH + K+Br- (1) CH4 + Cl2CH3Cl + HCl (2) H2O heat or light Cl22 Clo CH4 + ClooCH3 + HCl Cl2 + oCH3CH3Cl + Cloเกิดปฏิกิริยาต่อเนื่องเป็นแบบลูกโซ่ heat or light • HOMOLYTIC VS HETEROLYTIC CLEAVAGES • SUBSTITUTION REACTIONS

  3. H2C=CH2 + Br2H2C—CH2(3) H2C=O + CH3MgI H2C—O- Mg2+(4) Br Br CCl4 CH3 H2C—CH2 + KOH(alcohol)H2C=CH2(5) H2C—CH2 + H+ (catalytic amount) H2C=CH2(6) Cl H (-KCl) OH H (-H2O) • ADDITION REACTIONS • ELIMINATION REACTIONS

  4. H3C—C—C=C—H H3C—C==C—CH3(7) (8) H3C CH3 H H3C H H+ H3C OCH2CH=CH2 OH CH2CH=CH2 200oC • REARRANGEMENT

  5. Cl CH3 Question 1.(a) Combustion reaction หมายถึงปฏิกิริยาอะไร(b) Addition reactionหมายถึงปฏิกิริยาอะไรจงเขียนสมการของปฏิกิริยาระหว่าง 2,3-Dimethyl-2-butene กับ Br2(c)Substitution reaction หมายถึงปฏิกิริยาอะไรจงเขียนสมการปฏิกิริยาระหว่าง Cl2 กับ p-Dichlorobenzene โดยมีตัวเร่งปฏิกิริยา FeCl3 อยู่ด้วย • Question 2.ปฏิกิริยาข้างล่างอาจจะขาดสารเริ่มต้นหรือผลผลิต จงทำให้สมบูรณ์ตามที่ระบุใน ? • 2 CH3CH2CH2CH3 + 13 O2 ? (Complete combustion) • (CH3)2CHCH3 + Br2  ? (เขียนผลผลิตที่เป็นไปได้ทุกตัว) • + ?  + HCl • CH3CHCH2CH3 + Cl2  ? (เขียนผลผลิตที่เป็นไปได้ทุกตัว) heat light ? light

  6. Question 3.ปฏิกิริยาที่สำคัญในการเกิด photochemical smog ก็คือปฏิกิริยา photodissociation ของ NO2: NO2 + h  NO + O·(a) จงเสนอกลไกของปฏิกิริยาสำหรับการเกิด Photochemical smog ตามสมการเคมีข้างล่าง 2NO2(g) + CnH2n+2 + O2(g)/sunlight  2NO(g) + Cn-1H2n-1CHO + ·OH (b) เหตุใด oxygen atoms จึงคงอยู่ในชั้นบรรยากาศที่ความสูง 120-km ได้นานกว่าที่อยู่ในชั้นที่สูง 50-km Question 4.เหตุใด CFC จึงไม่สลายตัวด้วยรังสี UV ในชั้นบรรยากาศ troposphere (ชั้นโอโซนแทรกอยู่ในระหว่างชั้น troposphere ที่ความสูง 0 to 12 km และชั้น stratosphere ที่ความสูง 12 to 50 km

  7. Question 5.เนื่องจากความแข็งแรงของพันธะ C-F และ C-Cl ในสาร CFC ทำให้สารนี้เสถียรอยู่ในบรรยากาศยาวนานถึง 120 ปี สาร CFC สามารถแพร่สู่ชั้นโอโซนโดยใช้เวลาไม่ถึง 5 ปี ซึ่งในชั้นนี้แสง UV จะทำให้พันธะ C-Cl แตกทำให้อะตอม Cl เกิดขึ้นดังปฏิกิริยาข้างล่าง CCl2F2 + photon  CClF2 + Cl อะตอม Cl ที่เกิดขึ้นมีความว่องไวมากเนื่องจากไม่ครบ Octet เมื่ออะตอม Cl ปะทะกับโอโซน (O3) ก็จะเกิดปฏิกิริยา โดยขั้นแรกอะตอม Cl จะดึงอะตอม O จากโอโซนดังนี้ Cl + O3  ClO + O2 ClO ซึ่งมีความว่องไวอย่างยิ่งจะทำปฏิกิริยากับอะตอม O ต่อไปดังนี้ ClO + O  Cl + O2 จงเขียนสมการสุทธิแสดงการเกิดปฏิกิริยาทั้งหมด (โดยการรวมสมการทั้งสองเข้าด้วยกัน) จงบอกบทบาทของอะตอม Cl ในปฏิกิริยาดังกล่าวข้างต้น

  8. Question 6.จากการทดลองถ้าใช้แสง Ethane หรือ Methane ทำปฏิกิริยากับ Cl2จะได้ผลผลิตในขั้นแรกเพียงชนิดเดียวเหมือนกันทั้งสองกรณี แต่ถ้าใช้ Propane หรือ Butaneพบว่าผลผลิตที่เกิดขึ้นในเบื้องต้นมีสองชนิดเท่ากัน จงอธิบายพร้อมทั้งแสดงกลไกปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น ท่านคิดว่าปฏิกิริยานี้เป็นแบบ Free radical หรือไม่อย่างไร Question 7.ในการทำคลอริเนชันโดยใช้ของผสมที่มีปริมาณสมมูลของ Ethane และNeopentane เท่ากันพบว่าให้ Neopentyl chloride และ Ethyl chloride ในอัตราส่วน 2.3:1 ความว่องไวของไฮโดรเจนปฐมภูมิแต่ละตัวใน Neopentane เทียบกับไฮโดรเจนปฐมภูมิแต่ละตัวใน Ethane เป็นอย่างไร

  9. Question 8.จากการทดลองChlorination ของIsobutane ดังข้างล่าง (CH3)2CHCH3 + Cl2/light  (CH3)3CCl + (CH3)2CHCH2Cl (36%) (64%) ท่านคิดอย่างไรเกี่ยวกับลการทดลองนี้ถ้ามีผู้เสนอกลไกปฏิกิริยาดังนี้ (a) Isobutyl radicals บางส่วนเกิดจัดตัวใหม่ไปสู่ tert-Butyl radicals (b) Isobutyl radicals ที่เกิดขึ้นจะเปลี่ยนไปเป็น tert-Butyl radicals ดังต่อไปนี้: (CH3)2CHCH2o + (CH3)3C-H  (CH3)2CHCH3 + (CH3)3Co Question 9.เมื่อเติม HBr ลงไปจะทำให้ปฏิกิริยา Bromination ของ Methane เกิดช้าลงอันเนื่องมาจากปฏิกิริยาดังต่อไปนี้: CH3o + HBr  CH4 + Bro ซึ่งเป็นกระบวนการที่ย้อนกลับของขั้นที่ขยายลูกโซ่ท่านจะทดสอบได้อย่างไรว่าปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นจริงในการทำ Bromination

  10. Question 10.(a) tert-Butyl peroxide เป็นของเหลวที่เสถียรง่ายต่อการดูแลรักษาและใช้เป็นแหล่งของแรดิคัลอิสระที่หาง่าย Me3CO-OCMe3 2 Me3COo ของผสมที่ประกอบด้วย Isobutane และ CCl4เสถียรพอควรที่ 130 - 140oถ้าเติม tert-Butyl peroxide จำนวนเล็กน้อยลงในของผสมนี้ปฏิกิริยาเกิดขึ้นพร้อมกับให้ tert-Butyl chloride (เป็นส่วนใหญ่) และ Chloroform และมี tert-Butyl alcohol จำนวนเล็กน้อยที่สมมูลกับเพอร์ออกไซด์ที่ใช้เกิดขึ้นด้วยจงเขียนขั้นตอนทั้งหมดของกลไกปฏิกิริยานี้ (b) tert-Butyl hypochlorite (Me3COCl) ทำปฏิกิริยากับอัลเคนโดยการฉายด้วยแสง UV หรือมีเพอร์ออกไซด์อยู่ด้วยจำนวนเล็กน้อยพบว่าให้อัลคิลคลอไรด์และ tert-Butyl alcohol ในปริมาณที่สมมูลกันจงแสดงขั้นตอนทั้งหมดของกลไกในปฏิกิริยานี้ 130oC or light

  11. Question 11.จากการทดลองของ Gomberg เพื่อต้องการผลิตTriphenylmethyl radical จากChlorotriphenylmethane ดังปฏิกิริยาข้างล่าง (C6H5)3CCl + Ag ·  (C6H5)3C · + AgCl ผลที่ได้คือสารละลายสีเหลือง ซึ่งสีนี้จะหายไปเมื่อนำไปเติมด้วย I2 หรือ O2 ความมุ่งหมายแต่แรกของ Gomberg คือต้องการเตรียม Hexaphenylethane ซึ่งเป็น Dimer จงเขียนปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นทั้งหมด พร้อมทั้งเสนอโครงสร้างของ Dimer ที่คาดหวัง Question 12.Panethได้ทำการทดลองโดยฉาบโลหะตะกั่วไว้ในหลอดแก้ว ณ จุด ๆ หนึ่ง จากนั้นเขาผ่านไอ Tetramethyllead เข้าสู่หลอดแก้วและทำการเผา ณ จุดที่ก่อนจะถึงจุดที่ได้ฉาบตะกั่วไว้ เขาพบว่ามีโลหะตะกั่วแวววาวเกิดขึ้น ณ จุดที่เผา แต่จุดที่ฉาบตะกั่วแต่เดิมค่อย ๆ หายไป เมื่อไอสารที่เกิดจากการเผาผ่านจุดนั้น จงอธิบายผลการทดลอง พร้อมทั้งเขียนปฏิกิริยาประกอบ

  12. H H Cl H FeCl3 Cl Cl + Cl2 + HCl CH3 H3C CH3 H3C Cl Cl CH3—C==C—CH3 + Br2 CH3—C—C—CH3 H H Br Br H H Answer to Questions Answer 1. (a) Combustion reaction คือปฏิกิริยา Oxidation-reduction ของสารที่เป็นเชื้อเพลิงกับ O2เช่น2C2H6(g) + 7O2(g)  4CO2(g) + 6H2O(g) (b) Addition reaction คือปฏิกิริยาการเติม Reagent เข้าที่พันธะคู่หรือพันธะสาม (c) Substitution reaction คือปฏิกิริยาที่ Atom หรือกลุ่มของ Atom ทำการแทนที่ Atom หรือกลุ่มของ Atom

  13. Cl CH3 Cl Cl CH3 CH3 CH3 CH3 Answer 2. heat • 2 CH3CH2CH2CH3 + 13 O2 8 CO2 + 10 H2O • (CH3)2CHCH3 + Br2  (CH3)3CBr + (CH3)2CHCH2Br • + Cl2  + HCl • CH3CHCH2CH3 + Cl2  ClCH2CHCH2CH3 + CH3CCH2CH3 • + CH3CHCHCH3 + CH3CHCH2CH2Cl light light light

  14. Answer 3. (b)Oxygen atoms exist longer at 120 km because there are fewer particles and thus fewer collisions and subsequent reactions that consume O atoms. Answer 4. The wavelength is not short enough. Answer 5. O3 + O  2 O2 อะตอม Cl เป็น Reactive intermediate ซึ่งมีความว่องไวมาก

  15. Answer 6. CH4 + Cl2/light  CH3Cl + HCl CH3CH3 + Cl2/light  CH3CH2Cl + HCl CH3CH2CH3 + Cl2/light  CH3CH2CH2Cl + (CH3)2CHCl + HCl CH3CH2CH2CH3 + Cl2/light  CH3CH2CH2CH2Cl + CH3CH2CHClCH3 + HCl Answer 7. 12HNeo : 6HEth = 2.3 : 1 หรือ HNeo : HEth = 6 x 2.3 : 12 x 1 = 1.1

  16. Answer 8. (a) เราสามารถทดลองให้เห็นจริงได้โดยการปรับเปลี่ยนความเข้มข้นของCl2ซึ่ง Cl2 ที่เข้มข้นสูง ๆ จะไประงับหรือดักจับ Isobutyl radicals ไปสู่ tert-Butyl radicals (b) เช่นเดียวกับกรณี (a) เราสามารถปรับเปลี่ยนปริมาณCl2เพื่อระงับการเปลี่ยน (CH3)2CHCH2o + (CH3)3C-H ไปเป็น (CH3)2CHCH3 + (CH3)3Co Answer 9.โดยการสังเกตการณ์เกิดปฏิกิริยา เมื่อเวลายิ่งผ่านไปโดยไม่ต้องเติม HBr ลงไปปฏิกิริยาก็จะเกิดช้าลง เนื่องจาก HBrมีความเข้มข้นมากขึ้นนั่นเอง

  17. Answer 10. (a) ปฏิกิริยาจะเกิดตามลำดับต่อไปนี้ • (1) (CH3)3CO-OC(CH3)3 2 (CH3)3COo • (CH3)3COo + (CH3)3CH  (CH3)3COH + (CH3)3Co • (CH3)3Co + CCl4 (CH3)3CCl + Cl3Co • Cl3Co + (CH3)3CH  Cl3CH + (CH3)3Co • จากนั้นก็จะเกิดกระบวนการตาม (3), (4), (3), (4), ฯลฯ • (b) (1) (CH3)3CO-Cl  (CH3)3COo + Clo • (2) (CH3)3COo + RH  (CH3)3COH + Ro • (3) Ro + (CH3)3COCl  RCl + (CH3)3COo • จากนั้นก็จะเกิดกระบวนการตาม (2), (3), (2), (3), ฯลฯ 130oC or light light

  18. C—C Answer 11.ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ O2/H2O (C6H5)3COOC(C6H5)3 + other products (C6H5)3C · + I2 (C6H5)3C-I “Gomberg dimer” ซึ่งมีสูตรโครงสร้างข้างล่าง I2

  19. Answer 12. (a) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นดังนี้ (CH3)4Pb  4 CH3 · + Pb CH3 · + Pb  (CH3)4Pb 450 oC

More Related