1 / 32

วัตถุดิบ

การสร้างเครือข่ายประกันคุณภาพยา ภาครัฐและเอกชน http://www.dmsc.moph.go.th/webroot/drug/km/docs/QA% 20 Main.ppt. การประชุมสัมมนาผู้รับบริการและมีส่วนได้ส่วนเสียด้านการประกันคุณภาพและตรวจวิเคราะห์วัตถุเสพติด ประจำปีงบประมาณ 2553 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ กทม.

leala
Download Presentation

วัตถุดิบ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างเครือข่ายประกันคุณภาพยา ภาครัฐและเอกชนhttp://www.dmsc.moph.go.th/webroot/drug/km/docs/QA%20Main.ppt การประชุมสัมมนาผู้รับบริการและมีส่วนได้ส่วนเสียด้านการประกันคุณภาพและตรวจวิเคราะห์วัตถุเสพติด ประจำปีงบประมาณ 2553 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ กทม. วันที่ 26 มีนาคม 2553

  2. คุณภาพ คุณภาพ นำเข้า ผู้ผลิต วัตถุดิบ คุณภาพ คุณภาพ คุณภาพ คุณภาพ .. ยาสำเร็จรูป วัตถุดิบ ผู้นำเข้า ด่านนำเข้า ยาสำเร็จรูป คุณภาพ คุณภาพ คุณภาพ สถานพยาบาล ผู้ขายส่ง/ ผู้แทนจำหน่าย ผู้บริโภค ร้านยา คุณภาพ อื่นๆ

  3. Quality Assurance • Systematic actions necessary to ensure adequate confidence that a product will satisfy given requirements for quality Quality Assurance of Pharmaceuticals“wide ranging concept covering all matters that individually or collectively influence the quality of a product” WHO 4 major areas Quality control Distribution Production Inspection III I II IV

  4. บทบาทกองควบคุมยา อย. ในการประกันคุณภาพยา

  5. มาตรการการกำกับดูแลตาม พรบ.ยา การควบคุมก่อนออกสู่ท้องตลาด (Pre-marketing Control) การควบคุมหลังออกสู่ท้องตลาด (Post-marketing Control) •  การขออนุญาต • การขึ้นทะเบียนตำรับ • การโฆษณา • การกำกับดูแล • ผู้ประกอบการ • ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ • ผลิตภัณฑ์

  6. การควบคุมกำกับดูแลคุณภาพยาของอย.การควบคุมกำกับดูแลคุณภาพยาของอย. มาตรการจัดการ/ลงโทษตามกฎหมาย Plants…. ออกใบอนุญาต Premarketing I อย. products ขึ้นทะเบียนยา ยามี คุณภาพ GMP อย. พบปัญหา คุณภาพ II ผู้ประกอบการ ผลิต / นำเข้า Postmarketing กระจายยา III ผู้กระจาย แหล่งกระจาย ผู้สั่งใช้ยา/ ผู้ประกอบการ เฝ้าระวัง ติดตามตรวจสอบ สถานพยาบาล/ สถานที่ผลิต ขาย นำเข้ายา/อื่น ๆ IV ผู้สั่งใช้ยา/ ผู้ประกอบการ หน่วยงานอื่น เช่น กรมวิทย์ฯ สปสช. เป็นต้น ผู้ใช้ยา ผู้บริโภค

  7. การประกันคุณภาพยาก่อนออกสู่ตลาดของ อย. สถานที่/ บุคลากร/ เครื่องมือ&อุปกรณ์ Plants … ออกใบอนุญาต การยื่นขอต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบ ยาสามัญ / ยาสามัญใหม่ / ยาใหม่ ยาชีววัตถุ products ขึ้นทะเบียนยา ยาชีววัตถุ ยาสำหรับสัตว์ ยาแผนไทย, ยาพัฒนาจากสมุนไพร (ยาแผนไทยประยุกต์, ยาแผนเดิมประยุกต์, ยาที่เป็นตำรับยาเดี่ยว, ยาจากสมุนไพรแผนปัจจุบัน) Product Evaluation “Safety / Efficacy / Quality” ผลิต / นำเข้า GMP PICs

  8. การพัฒนาระบบการขึ้นทะเบียนตำรับยาการพัฒนาระบบการขึ้นทะเบียนตำรับยา • ปัจจุบันยาแผนปัจจุบันขึ้นทะเบียนตำรับยาตามแบบ Asean Harmonization ซึ่งเป็นสากลทั้งในด้าน • เอกสารการขึ้นทะเบียน (Asean Common Technical Dossiers - ACTD ) • ข้อกำหนดการขึ้นทะเบียน (Asean Common Technical Requirements - ACTR ) (ร่างกฎกระทรวงการขึ้นทะเบียนตำรับยา สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาได้พิจารณาและคาดว่าใกล้จะประกาศใช้แล้ว)

  9. การพัฒนาระบบการขึ้นทะเบียนตำรับยาการพัฒนาระบบการขึ้นทะเบียนตำรับยา WHOประเมินการขึ้นทะเบียนวัคซีน products ขึ้นทะเบียนยา ยาสามัญ / ยาสามัญใหม่ / ยาใหม่ ยาชีววัตถุ Product Evaluation “Safety / Efficacy / Quality” • Safety / Efficacy เช่น • - Pharmaco. / Toxico. / Clinical trial (ยาใหม่) • - BE study (ยาสามัญใหม่ / ยาสามัญบางชนิด ) • Quality เช่น • - Pharmaceutic (Formulation&Dosage, Manufac. Process , Validation Proces, Packaging , .........) • - Quality control (Control of RM / Inprocess / FP , Stability , ……) ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ASEAN HARMONIZE/WHO แจ้งแหล่งผลิตวัตถุดิบยา

  10. สร้างหลักประกันประสิทธิผลของยาสามัญเท่าเทียมกับยาต้นแบบ(Bioequivalenct Study - BE) • ยาสามัญที่ผลิตทดแทนยาใหม่ต้องทำการศึกษาชีวสมมูลของ ยาสามัญ เพื่อพิสูจน์ผลการรักษาว่าเท่าเทียมกัน • การศึกษาปฏิบัติตามเกณฑ์Asean BA/BE guideline • “ Guidelines for the Conduct of Bioaviability and Bioequivalence Studies” • “คู่มือการศึกษาชีวประสิทธิผลและ ชีวสมมูลของผลิตภัณฑ์ยา” (ประกาศเมื่อวันที่ 6 มีค 52 ) • พัฒนา/ส่งเสริม/สนับสนุนแหล่งศึกษา ชีวสมมูลของยา / ผู้ผลิตยา ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 หรือ GLP และการศึกษาทางคลินิก ตาม GCP

  11. เพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมวัตถุดิบยา มาตรการเสริม • ควบคุมคุณภาพวัตถุดิบยา ณ ด่านอาหารและยา โดยประกาศใช้ หลักเกณฑ์การพิจารณา certificate of analysis • [ ให้ COA แสดง : ชื่อยา ลักษณะยา รุ่นที่ผลิต วดป.ที่ผลิตยา/ยาสิ้นอายุ วิธีวิเคราะห์ ข้อกำหนดมาตรฐาน ผลวิเคราะห์ การเก็บรักษา ชื่อและที่อยู่ของผู้ผลิต / ผู้แบ่งบรรจุหรือผู้ขาย(ถ้ามี) ชื่อหัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์หรือผู้มีอำนาจลงนาม ] • ให้ผู้รับอนุญาตผลิตหรือนำเข้าวัตถุดิบยาจดแจ้งเภสัชเคมีภัณฑ์ • และเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูปที่เป็นสารออกฤทธิ์ • (ร่างกฎกระทรวงอยู่ระหว่างการพิจารณาของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา)

  12. เพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมวัตถุดิบยา มาตรการเสริม • จัดทำหลักเกณฑ์ให้มีการแจ้งแหล่งผลิตตัวยาสำคัญ • หรือสารออกฤทธิ์ในทะเบียนตำรับยา (อยู่ระหว่างดำเนินการ) • สำหรับยาที่ได้ขึ้นทะเบียน • ตำรับยาไว้ก่อนการยื่นขึ้น • ทะเบียนตำรับยาแบบ • Asean Harmonization

  13. สร้างความเข้มแข็งในการควบคุมคุณภาพยาหลังออกสู่ตลาด plants ออกใบอนุญาต ทบทวน /แก้ไข /ป้องกัน/ลงโทษตามกฎหมาย products ขึ้นทะเบียนยา พบปัญหาคุณภาพยา ผู้ผลิตต้องผลิตยาตามเกณฑ์ GMPPICs GMP ผลิต / นำเข้า กระจายยา Postmarketing ผู้กระจาย แหล่งกระจาย เฝ้าระวัง ติดตาม ตรวจสอบ (สถานประกอบการ / ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ /ผลิตภัณฑ์ /โฆษณา) จัดทำเกณฑ์การจัดส่งยา/การจัดเก็บยา ผู้บริโภค

  14. มาตรการการประกันคุณภาพยาหลังออกสู่ตลาดมาตรการการประกันคุณภาพยาหลังออกสู่ตลาด • การตรวจสอบ ติดตาม เฝ้าระวัง ปัญหาคุณภาพยา • การทบทวน / แก้ไข ปัญหาคุณภาพยา • การพัฒนาหลักเกณฑ์ / มาตรฐาน / อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

  15. กระบวนการการตรวจสอบ ติดตาม เฝ้าระวัง ปัญหาคุณภาพยา

  16. มาตรการดำเนินการ • การผลิตยา • มีการตรวจประเมินและติดตามการผลิตยาของสถานประกอบการให้เป็นไปตามเกณฑ์ GMP

  17. การตรวจสอบ ติดตาม เฝ้าระวังปัญหาคุณภาพยา ในท้องตลาด • การเฝ้าระวังสถานการณ์ด้านคุณภาพยา มีการตรวจสอบ ติดตาม • และการสุ่มเก็บตัวอย่างยาในสถานประกอบการและในท้องตลาด • ส่งกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ตรวจวิเคราะห์เป็นประจำทุกปี • โครงการเฝ้าระวังคุณภาพมาตรฐานยา • กรณีพิเศษ / ฉุกเฉิน • โครงการตามนโยบาย • โครงการหลักประกันคุณภาพและมาตรฐานบริการด้านยา ดำเนินการร่วมกับกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นต้น • โครงการแก้ไข / พัฒนาคุณภาพยา

  18. การดำเนินการเมื่อได้รับข้อมูลปัญหาคุณหภาพยาการดำเนินการเมื่อได้รับข้อมูลปัญหาคุณหภาพยา • การประเมินระดับความรุนแรงของปัญหาคุณภาพยานั้นๆ • การสืบสวนเพื่อหาข้อมูลที่จำเป็น • มาตรการเพื่อคุ้มครองและลดความเสี่ยงของผู้บริโภค • - การแจ้งเตือนภัยเบื้องต้น • - การเรียกเก็บยาคืน • - การแจ้งเตือนภัยเร่งด่วน

  19. ตรวจรายงาน/ข้อมูลพบยาที่มีปัญหาตรวจรายงาน/ข้อมูลพบยาที่มีปัญหา ปัญหาที่เกี่ยวกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ยา ปัญหาด้านอื่นๆที่ไม่ใช่เกี่ยวกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ยา ประเมินปัญหา แจ้งไปที่ศูนย์ HPVC พิจารณาระดับ ความร้ายแรงของปัญหา แจ้งเตือนภัยเบื้องต้น / แจ้งเตือนเร่งด่วน / และหรือเรียกเก็บยาคืน

  20. ระดับ 1 ระดับ 2 เตือนภัยเร่งด่วน เรียกเก็บยาคืน เตือนภัยเร่งด่วน ผู้ผลิต ผู้นำเข้า หน่วยงานที่มีหน้าที่กำกับดูแลยา หน่วยงานกระจายยา / โรงพยาบาล / คลีนิก / ร้านขายยา หน่วยงานระหว่างประเทศที่มีหน้าที่กำกับดูแล เช่น กลุ่มประเทศ ASEAN ข่าวสื่อมวลชน

  21. ระดับ 3 เรียกเก็บยาคืน ผู้ผลิต • ณ ด่านนำเข้า • อายัด/ กักกัน ผู้นำสั่ง ผู้ขาย / โรงพยาบาล /คลินิก

  22. การทบทวน / แก้ไข / ป้องกัน ปัญหาคุณภาพยา

  23. การทบทวนทะเบียนตำรับยาที่ได้รับอนุญาตไว้แล้วและมีรายงานปัญหาด้านคุณภาพยาการทบทวนทะเบียนตำรับยาที่ได้รับอนุญาตไว้แล้วและมีรายงานปัญหาด้านคุณภาพยา

  24. การทบทวนทะเบียนตำรับยาที่ได้รับอนุญาตไว้แล้วการทบทวนทะเบียนตำรับยาที่ได้รับอนุญาตไว้แล้ว การจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูง • ออกคำสั่ง สธ. ที่ 390/2551 ลว 8 เมย. 51 ให้ผู้ประกอบการแก้ไขทะเบียนตำรับยา ให้มีการกำหนดมาตรฐาน Dissolution ไว้ในทะเบียนตำรับยา • ออกคำสั่ง สธ ที่ 1106/2550 ลว 7 พย 50 ให้ผู้ประกอบการแก้ไขทะเบียนตำรับยา bisacodyl tablet ชนิดออกฤทธิ์ทันที เป็นยาที่ออกฤทธิ์ละลายในลำไส้ • เพิกถอนทะเบียนยา Dakin’s solution, Ibuprofen sugar coated tablet,

  25. การทบทวนทะเบียนตำรับยาที่มีปัญหาคุณภาพการทบทวนทะเบียนตำรับยาที่มีปัญหาคุณภาพ • การจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูง • ทบทวนทะเบียนตำรับยา aspirin เพื่อแก้ไขปัญหาและลดความเสี่ยงของการเสื่อมสภาพของยา aspirin • ทบทวนทะเบียนและทำ Intensive surveillance คุณภาพยา artesunate - ดำเนินการเพื่อแก้ไขทะเบียนตำรับยาที่มีข้อกำหนดมาตรฐานและวิธีวิการเคราะห์ยา ล้าสมัย ให้มีข้อกำหนดมาตรฐานและวิธีวิเคราะห์ยาที่ทันสมัย (อยู่ระหว่างการดำเนินการ)

  26. การทบทวนทะเบียนตำรับยาการทบทวนทะเบียนตำรับยา • มีโครงการวิจัย “การพัฒนาระบบทบทวนการขึ้นทะเบียนตำรับยา” (ระยะเวลา 3 ปี) • - การจัดการความรู้และการประเมินผล • - การพัฒนารูปแบบทบทวนทะเบียนตำรับยาและการนำไปสู่การปฏิบัติ ทุนวิจัยจาก สวรส.

  27. มาตรการการแก้ไข / ป้องกันปัญหาคุณภาพยา • มีกระบวนการแก้ไขปัญหายาที่มีรายงานผิดมาตรฐาน โดย - ใช้มาตรการแก้ไขปัญหาแบบให้ผู้ประกอบการ มีส่วนร่วมตั้งแต่ปี 2545 ถึงปัจจุบัน e.g. การแก้ไขปัญหาคุณภาพยา Phenytoin, Tolperisone, Enalapril เป็นต้น - การให้ผู้ประกอบการจัดทำ Corrective Plan ส่ง อย. กรณีมีปัญหาด้านคุณภาพ หรือ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การผลิตยา

  28. มาตรการการแก้ไข / ป้องกันปัญหาคุณภาพยา • มีโครงการพัฒนา / แก้ไขปัญหาคุณภาพยาที่มีรายงานการผิดมาตรฐาน เช่น • - โครงการเก็บตัวอย่างยาที่มีรายงานผิดมาตรฐานส่งตรวจวิเคราะห์ และรวบรวมข้อมูลเพื่อศึกษาวิเคราะห์ปัญหาคุณภาพยาและกำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนา เช่น ยา Omeprazole capsule, Hyoscine tablet , Colchicine tablets เป็นต้น • มีการกำหนดบทบาทหน้าที่และความเชื่อมโยงการทำงานของหน่วยงานในองค์กรในการจัดการความเสี่ยงจากปัญหาคุณภาพยา

  29. การพัฒนาผู้ประกอบการ/ หลักเกณฑ์ / มาตรฐาน / อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

  30. การพัฒนาผู้ประกอบการ/หลักเกณฑ์ /มาตรฐาน • มีโครงการส่งเสริมพัฒนาอุตสาหกรรมยาสามัญ และจัดทำยุทธศาสตร์/แผนงานเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตยา • จัดทำหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการจัดส่งยา และการจัดเก็บยา (Good distribution practice – GDP / Good storage practice GSP) (อยู่ระหว่างดำเนินการ) • พัฒนามาตรฐานการผลิตยา • - เกณฑ์ GMP PIC/S, - เกณฑ์ GMP ชีววัตถุ • - เกณฑ์ GMP ยาจากสมุนไพร

  31. การพัฒนาการตรวจสอบ ติดตาม เฝ้าระวังเชิงรุก • จัดตั้งศูนย์เฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ศรร.) รับเบาะแส รับเรื่องร้องเรียน วิเคราะห์ข้อมูลปัญหา • จัดตั้งศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามการกระทำฝ่าฝืนกฎหมายเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ศปป.) ดำเนินการกับผู้กระทำฝ่าฝืนกฎหมายเป็นกรณีพิเศษ

  32. จบแล้ว ขอบคุณ

More Related