550 likes | 821 Views
Prepared by Sunee. 8-9 101.5 FM พุธ www.curadio.chula.ac.th. ตีความ เกิดเพราะ. บางย่อหน้าของมาตรฐานที่มีอยู่ คลุมเครือ. ธุรกรรมทางธุรกิจวิ่งไปเร็ว แต่มาตรฐานวิ่งไปไม่ทัน. 30 ฉบับ. 25/30 เอามาจาก IFRS แต่เป็น version เก่าๆ (1993-2006). 4/30 มาจาก US GAAP.
E N D
8-9 101.5 FM พุธ www.curadio.chula.ac.th
ตีความ เกิดเพราะ • บางย่อหน้าของมาตรฐานที่มีอยู่ คลุมเครือ
ธุรกรรมทางธุรกิจวิ่งไปเร็ว แต่มาตรฐานวิ่งไปไม่ทัน
30 ฉบับ • 25/30 เอามาจาก IFRS แต่เป็น version เก่าๆ (1993-2006)
TAS 21 ใช้ต่อไป เพราะฉบับใหม่ • กำหนดให้กิจการดำเนินธุรกิจในไทย ค้นหาว่าจริงๆ แล้วสกุลเงินในดำเนินธุรกิจเป็นสกุลใด
หากไม่ใช่บาท • บันทึกระบบบัญชีเป็นสกุลบาท คู่กับ US, YEN • แปลงค่างบ US, YEN เป็น THAI BHT.
TAS 107 • แบ่งเป็น 2 ฉบับ • TAS 32 นำเสนอเครื่องมือทางการเงิน • TFRS 7 เปิดเผยเครื่องมือทางการเงิน
TAS 102 • ยกเลิก • ไปดู IFRIC 15 • ขาย condo, บ้าน, ที่ดินเปล่า ตีความว่าเป็นการขายสินค้า • ที่ดินเป็นของ developer • แบบแปลนออกโดย developer etc. • TAS 18 รับรู้รายได้เมื่อโอน
104, 105, 106 • พอรอบ 56 ไปรวมใน TFRS 9 รับรู้และวัดมูลค่าเครื่องมือทางการเงิน
56 เมื่อใช้ TFRS 9 • การตั้งเผื่อหนี้จะสูญคือการด้อยค่าของลูกหนี้ • ไม่สามารถใช้วิธี aging • แต่ต้องใช้วิธี ประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่จะเก็บได้ แล้วคิดลดเป็น PV จำนวนค่าเผื่อ = มูลหนี้ – PV ของกระแสเงินสด
ปี 2554 • มาตรฐานบัญชีจะประกาศใช้ 2 ระดับ • PAE: FULL IFRS เท่าที่ประกาศในราชกิจจา • NPAE: Full IFRS แต่ลบทิ้งไป 10 ฉบับ เช่น TAS 7, TAS 19, TAS 27 (แต่น่าเสียใจ เร็วๆ นี้ อาจมีมาตรฐานบัญชีโดยเฉพาะสำหรับ NPAE)
มาตรฐานสำหรับ NPAE(600,000 แห่ง) • จะไม่มีการแยกฉบับ • จริงๆ แล้วคล้าย IFRS เพียงแต่ตัดเรื่องยากๆ นำไปใช้ออก • ผล ปย พนักงาน • ด้อยค่า • หลัก FV ทั้งหลาย • บางหลักคล้ายหลักภาษี
อสังหาเพื่อลงทุน • ที่ดิน อาคาร ส่วนควบ เพื่อหากินรายได้ในรูปค่าเช่า หรือ เก็งกำไร • จามจุรี • MBK • ไม่รวมกรณีโรงงานผลิต ไปสร้าง apartment ให้พนักงานเช่า
ณ วันปิด เลือกได้ 2 วิธี • วิธีราคาทุน ที่ดินไม่คิดค่าเสื่อม อาคารและส่วนควบ คิดค่าเสื่อม + เปิดเผย FV ในหมายเหตุ • วิธี FV ที่ดิน อาคาร ส่วนควบ ไม่มีการคิดค่าเสื่อม แต่ต้องตีให้เป็น FV + รับรู้กำไรขาดทุนจาก MTM เข้าไปงบกำไรขาดทุน
ปีหน้า ยกเลิกดู ป ส ภ ที่เพิ่มขึ้น หลังมีรายจ่าย 4 รายการ ขอแค่รายจ่าย 4 รายการเข้า 2 ข้อใน slide 35 ก็ขึ้นบัญชีเป็น สท แม้ไม่เพิ่ม ป ส ภ
ปีหน้า • กรณีผู้เช่า เช่าอาคาร นำอุปกรณ์ไป buildinในอาคาร มีสัญญารื้ออุปกรณ์เมื่อสิ้นสัญญา
นำอุปกรณ์ไปติดตั้งบนที่ดินที่ได้สัมปทาน + มีสัญญารื้อถอนและบูรณะ • PTTEP • BANPU • PTT • MACO • ADVANC, DTAC, TRUE
ตย นำอุปกรณ์ราคาซื้อมา 100 บาท ไปติดตั้งบนที่ดินที่เช่า • มีสัญญารื้อถอน/บูรณะ • วิศวกรประมาณรายจ่ายรื้อถอนคิดลด (www.bot.or.th) 3 บาท
Dr. อุปกรณ์ 103 cr. a/p 100 ประมาณการหนี้สิน 3 (คิดค่าเสื่อมจากฐาน 103)
ย่อหน้า ใช้กับกรณี ไปสร้างอาคารบนที่ดินที่เช่า ยกเป็นสมบัติของผู้ให้เช่า + มีสัญญาทุบทิ้ง หรือ บูรณะ
Dr. อาคาร 103 cr. งานระหว่างก่อสร้าง 100 ประมาณการหนี้สิน3
Q: สท ถ้าได้มาก่อน 1/1/54 • ต้องปรับงบย้อนหลังเหมือนว่าตั้งประมาณการหนี้สินแต่แรก A: ไม่ต้องได้ไง
Q: ประมาณการหนี้สินต้องปรับมูลค่าเรื่อยๆ • ต้องซิ IFRIC 1 ส่วนเพิ่มของประมาณการหนี้สิน ไปตาม Time value of money dr. ดอกเบี้ยจ่าย xx cr. ประมาณการหนี้สิน xx
Miss พลาด คิดถึง Mrs Mr + Sister • IFRIC 1 หาก ประมาณการหนี้สินเปลี่ยนเพราะประมาณการรายจ่ายที่เปลี่ยนไป dr. อาคาร - ส่วนเพิ่ม xx cr. ประมาณการหนี้สิน xx
Component approach • เกิดเพราะ สท ถาวร 1 รายการมีหลายส่วนประกอบ • มีอายุไม่เท่ากัน • มีรูปแบบได้รับ ปย ต่างกัน • ราคาซากไม่เท่ากัน
ใช่ว่าจะใช้กับ สท ทุกชนิด • ควรเน้นไปที่ core assets + มูลค่าสูง + ห่างไกลจาก fully depreciate • THAI: เครื่องบิน + terminal • MAJOR: อาคารโรงหนัง + เบาะที่นัง + จอภาพยนตร์
Q: สท ถาวรได้มาก่อน 1/1/54 ต้องแยกส่วนประกอบย้อนหลัง A: ต้องแยก แต่สามารถเลือก - ไม่ปรับงบย้อนหลัง - แต่ใช้วิธีเปลี่ยนทันที
1/1/54 บันทึกการแยกส่วนประกอบ Dr. อุปกรณ์ – A 30 อุปกรณ์ – B 50 อุปกรณ์ – อื่นๆ 20 cr. อุปกรณ์ 100
1/1/54 บันทึกการแยกค่าเสื่อมสะสม Dr. ค่าเสื่อมสะสม – อุปกรณ์ 40 cr. ค่าเสื่อมสะสม – A12 B 20 อื่นๆ 8 (คิดค่าเสื่อมสะสมของแต่ละส่วนฯ เสมือนหนึ่งว่าถูกตัดมา 2/5 ทุกส่วน)
คำนวณ deemed cost A: 30 – 12 = 18 คิดค่าเสื่อม = (18-4)/2 = 7 บาท
Rotable Spare Parts • หากยังไม่เบิกใช้ควรถือเป็น • Inventory • PPE
ต้องคิดค่าเสื่อมหากยังไม่เบิกใช้ต้องคิดค่าเสื่อมหากยังไม่เบิกใช้ • ไม่ต้องแต่ควรทดสอบการด้อยค่าของอะไหล่
ค่าเสื่อมไม่หยุดคิด ในระหว่าง สท ไม่ได้ใช้งาน • สท ถาวรสิ้นสุดคิดค่าเสื่อมเมื่อ • สท สูญหาย • สท เสียหาย • สท ถูกขายออกไป • สท โอนไปหมวดรอการขาย
ไม่จำเป็นที่ ตท ขาย จะต้อง match กับรายได้ค่าขาย เพราะไม่ว่า • สินค้าขาดหาย • สินค้าชำรุดเสียหาย • สินค้าจะตกรุ่น • สินค้าจะมีราคาตลาดลดลง • การผลิตทำไม่เต็มกำลังการผลิต
งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (comprehensive I/S) • อย่าได้แคร์ • จะเกิดเมื่อกิจการมี • รายการที่ในอดีตมาตรฐานเคยให้รับรู้โดยตรงไปที่ส่วนผู้ถือหุ้น เช่น
กำไรไม่เกิดจริงจากที่ดิน อาคารฯ • กำไร ขาดทุนไม่เกิดจริงจาก AFS • กำไร ขาดทุนจากการเปลี่ยนแปลงสมมติฐานคำนวณคณิตศาสตร์ประกันภัย • กำไร ขาดทุน จากการแปลงค่างบหน่วยงานใน ต่าง ปท • กำไร ขาดทุนจาก cash flow hedge
งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายได้ xx หัก ตท คชจxx กำไรสุทธิ 145 + - OCI (other com prehensive income) กำไรไม่เกิดจริงจาก AFS 12 กำไรเบ็ดเสร็จ 157
งบกำไรขาดทุน รายได้ xx หัก ตท คชจxx กำไรสุทธิ145
งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จงบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ กำไรสุทธิ 145 + - OCI (other com prehensive income) กำไรไม่เกิดจริงจาก AFS 12 กำไรเบ็ดเสร็จ 157
Perpetual System Dr. ขาดทุนจาก........ Xx cr. สินค้า xx KPMG EY, Del, PWC
ทามาก๊อด ราคาทุน 1000 แต่วันปิด NRV = 100
Dr. ขาดทุน 900 cr. สินค้า 900 หากปีหน้า ขายไม่ได้ NRV = 105 Dr. สินค้า 5 cr. กำไรจากการโอนกลับขาดทุน 5
OH (คงที่) = 100,000 บาท • กำลังผลิต = 50,000 หน่วยเดือนนี้ผลิตจริง = 40,000 • ขายไป = 35,000 • ไม่ได้ใช้กำลังผลิต 10,000 x 2 = 20,000 บาท