1 / 42

ความร่วมมือระหว่างกรมการ แพทย์ กับเขตบริการสุขภาพ

ความร่วมมือระหว่างกรมการ แพทย์ กับเขตบริการสุขภาพ. 21 /0 4 /57. ความร่วมมือระหว่างกรมการแพทย์ กับเขตบริการสุขภาพ. ทำไม กรมการแพทย์ ต้องเข้ามาทำงานร่วมกับเขตบริการสุขภาพ ภารกิจกรมการแพทย์ NHA concept บทบาทกรมการแพทย์ใน NHA แนวทางพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plans)

leal
Download Presentation

ความร่วมมือระหว่างกรมการ แพทย์ กับเขตบริการสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความร่วมมือระหว่างกรมการแพทย์ กับเขตบริการสุขภาพ 21/04/57

  2. ความร่วมมือระหว่างกรมการแพทย์ กับเขตบริการสุขภาพ • ทำไม กรมการแพทย์ ต้องเข้ามาทำงานร่วมกับเขตบริการสุขภาพ • ภารกิจกรมการแพทย์ • NHA concept • บทบาทกรมการแพทย์ใน NHA • แนวทางพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plans) • สิ่งที่กรมการแพทย์จะปรับปรุงเพื่อการดำเนินการร่วมกับเขตบริการสุขภาพ

  3. ภารกิจกรมการแพทย์

  4. กรมการแพทย์ เป็นกรมวิชาการ

  5. ภารกิจ กรมการแพทย์ ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดให้กรมการแพทย์มีภารกิจในการพัฒนาวิชาการด้านการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ฝ่ายกาย โดยมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

  6. ส่งเสริม กรมอนามัย รักษา ฟื้นฟู ป้องกัน กรมควบคุมโรค กรมการแพทย์ การแบ่งงานวิชาการของกระทรวงสาธารณสุข สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต แผนไทย+ทางเลือก กรมแพทย์แผนไทยฯ ห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ อาหารและยา สนง.คกก.อาหารและยา

  7. ภารกิจ กรมการแพทย์ พัฒนางานด้านวิชาการ เพื่อยกระดับการรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ โรคทางกาย แผนปัจจุบันให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่เหมาะสม

  8. ผลลัพธ์ที่ต้องการ “เพื่อให้ประชาชนไทย ได้รับการดูแลรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสมรรถภาพที่มีประสิทธิภาพ เหมาะสม และคุ้มค่า” สอดคล้องกับวิสัยทัศน์เดิมของกรมการแพทย์ “เป็นผู้นำด้านวิชาการและเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่สมคุณค่า เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าของประชาชน”โดยกรมการแพทย์เป็นกรมวิชาการ มุ่งเน้นด้านการรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์

  9. แนวทางพัฒนากระทรวงสาธารณสุขแนวทางพัฒนากระทรวงสาธารณสุข NHA ระดับประเทศ National Health Authority Regulator Provider Purchaser • สปสช. • สปส. • กรมบัญชีกลาง • ฯลฯ สป./กรม ส่วนกลาง

  10. บทบาทกรมการแพทย์ กรมการแพทย์ดำเนินการร่วมกับทุกภาคส่วน อาศัยข้อมูลอ้างอิงทางวิชาการที่เหมาะสม เพื่อกำหนดทิศทาง ควบคุม กำกับ ดูแลงานด้านรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ของกระทรวงสาธารณสุข

  11. National Health Authority 12 ประเด็น • การกำหนดนโยบาย • การสร้างและจัดการความรู้ • การประเมินนโยบายและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ • การกำหนดและรับรองมาตรฐานต่างๆ • การพัฒนาระบบกลไกการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน • การพัฒนากลไกด้านกฎหมาย • การพัฒนางานสุขภาพโลกและความร่วมมือระหว่างประเทศ • การกำกับดูแล ติดตาม ประเมินผล • การให้ข้อคิดเห็นต่อระบบการเงินการคลังสุขภาพของประเทศ • การพัฒนาข้อมูลข่าวสารให้เป็นระบบเดียว • การกำหนดนโยบายและจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ • เขตสุขภาพหรือ service plan 4 Subsystems • ระบบบริการ • ระบบส่งเสริมสุขภาพ • ระบบป้องกัน ควบคุมโรค • ระบบยาและคุ้มครองผู้บริโภค

  12. วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์ • กรมการแพทย์ต้องมีบทบาทนำใน subsystem ระบบบริการ ร่วมกับกรมสุขภาพจิต กรมแพทย์แผนไทยฯ และกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

  13. วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์ ประเด็นที่สำคัญควรพัฒนา ได้แก่ • การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการแพทย์ • เพื่อการพัฒนานโยบาย ซึ่งอาศัยข้อมูล ระบาดวิทยา (epidemiology) ภาระโรค (burden of disease) ความสูญเสียทางเศรษฐศาสตร์ (economic burden) คุณภาพบริการ (quality of care) ทรัพยากร (medical care resource) และ ข้อมูลทางวิชาการ (technology assessment, model development, research)

  14. วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์ • การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านการแพทย์ (ต่อ) • เพื่อเป็นศูนย์อ้างอิงทางด้านวิชาการแพทย์ทั้งในด้านวิชาการ ข้อมูล มาตรฐานและตัวบุคคล • เพื่อเป็นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางด้านวิชาการแพทย์ • เป็นฐานในการดำเนินงานใน 11 ประเด็นที่เหลือของ NHA

  15. วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์ • การพัฒนาระบบการจัดการความรู้ด้านวิชาการ การประเมินเทคโนโลยีและการพัฒนามาตรฐานทางการแพทย์ • การพัฒนาระบบติดตามประเมินผล • ระบบติดตามประเมินผลคุณภาพบริการด้านการรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ที่สำคัญเกี่ยวข้องกับระบบวิชาการและระบบเครือข่ายบริการ

  16. วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์ • Service Plan and Technical Support ด้านการรักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ รวมทั้งถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อยกระดับสถานบริการสุขภาพระดับภูมิภาคให้มีศักยภาพด้านบริการระดับตติยภูมิ • การพัฒนา Centers of Excellence สู่การเป็น National Health Authority

  17. วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์วิเคราะห์บทบาทของกรมการแพทย์ • ในประเด็นอื่นๆ ได้แก่ ระบบกลไกเฝ้าระวังโรค การพัฒนากฎหมาย การเงินการคลัง การต่างประเทศ และการจัดการกำลังคนด้านการแพทย์ กรมการแพทย์มีส่วนร่วมสนับสนุน และให้ข้อมูลเชิงวิชาการ • งานบริการตติยภูมิของกรมการแพทย์ จำเป็นต้องจัดให้มีอยู่ และพัฒนาให้เป็นเลิศ เพื่อสนับสนุนงานข้างต้น รวมทั้งรับส่งต่อจากหน่วยบริการของเครือข่ายบริการ

  18. วิจัย TA Survey Surveillance/Registry Doc. Review CoP DataBase ระบบวิชาการและ มาตรฐานการแพทย์ ข้อเสนอบทบาทกรมการแพทย์ใน National Health Authority NHA บริการสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพ คุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ ควบคุมและ ป้องกันโรค Subsystems เขต 1-12 HR Law &Regulation etc Strategy Finance Information โครงสร้าง ระดับเขต ด้านวิชาการ Advocate Policy Information ด้านวิชาการ ระบบ M&E เครือข่าย Technical Support

  19. วิจัย TA Survey Surveillance/Registry Doc. Review CoP DataBase ระบบวิชาการและ มาตรฐานการแพทย์ ด้านบริหาร ด้านวิชาการ ด้านวิชาการ ข้อเสนอบทบาทกรมการแพทย์ใน National Health Authority NHA บริการสุขภาพ ส่งเสริมสุขภาพ คุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ ควบคุมและ ป้องกันโรค Subsystems เขต 1-12 HR Law &Regulation etc Strategy Finance Information โครงสร้าง ระดับเขต ด้านวิชาการ Advocate Policy Information ด้านวิชาการ ระบบ M&E เครือข่าย Technical Support 20

  20. คณะกรรมการนโยบายสาธารณสุขระดับชาติ (National Health Policy Board : NHPB) ความเชื่อมโยงบทบาทภารกิจและกลไกการทำงาน ศูนย์การจัดการข้อมูลหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (NDCH) กสธ. สำนักคณะกรรมนโยบายสาธารณสุขระดับชาติ (NHAO) ศูนย์กลางข้อมูลสุขภาพระดับชาติ (NHIC) ภารกิจโครงสร้างเป็น คกก. หรือหน่วยงาน กองทุน ยา สำนักงานเขตบริการสุขภาพ 1-12 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กฏหมาย คลังสุขภาพ กำลังคน M&E ระบาดวิทยา สป. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ประเมินเทคโนโลยี มาตรฐาน วิชาการ/วิจัย/วิชาชีพ International Health KM AREA HEALTH BOARD

  21. วิจัย TA Survey Surveillance/Registry Doc. Review CoP DataBase ระบบวิชาการและ มาตรฐานการแพทย์ ความเชื่อมโยงบทบาทภารกิจและกลไกการทำงาน Advocate Policy Information ด้านวิชาการ ระบบ M&E บทบาทภารกิจ NHA กรมการแพทย์ เครือข่าย Technical Support

  22. Service Plans

  23. Service Plans What 10 Service Plans Priority Setting Plan ครอบคลุม เข้าถึง ประสิทธิภาพ คุ้มค่า ทำได้จริง How System Approach Cost-Effectivenessintervention Goal Setting When Phasing Service implement Where รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. กลุ่มวัย Whom M & E

  24. Service Plans What Priority Setting Plan • Information • ข้อมูลวิชาการ How System Approach Cost-Effectivenessintervention Goal Setting When Phasing Where รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. Service implement กลุ่มวัย Whom M & E

  25. การพัฒนาสารสนเทศเพื่อการจัดการเสนอแนะนโยบายการพัฒนาสารสนเทศเพื่อการจัดการเสนอแนะนโยบาย • ระบาดวิทยา • ปัจจัยเสี่ยง • ความชุก • อัตราตาย • อัตราตายปรับตามอายุ • ทรัพยากร • บุคลากร • เครื่องมือแพทย์ • ระบบบริการ

  26. ระบบวิชาการ - KM • วิจัย -Research • ประเมินเทคโนโลยี - TA • สำรวจ - Survey • ทบทวนวารสาร – Document Review • ถอดบทเรียน –Lesson Learn / CoP • เฝ้าระวัง / ระบบทะเบียน –Surveillance / Registry System • สืบค้นฐานข้อมูล และระเบียน รายงาน

  27. ระบบวิชาการ - KM • ปรับระบบวิชาการของกรมการแพทย์ให้ตอบสนองต่อการเป็น Regulator • พัฒนาระบบมาตรฐานทางการแพทย์ Advocate Policy Information ด้านวิชาการ • วิจัย -Research • ประเมินเทคโนโลยี - TA • สำรวจ - Survey • ทบทวนวารสาร – Document Review • ถอดบทเรียน –Lesson Learn / CoP • เฝ้าระวัง / ระบบทะเบียน –Surveillance / Registry System • สืบค้นฐานข้อมูล และระเบียน รายงาน เครือข่ายวิชาการร่วมกับเขตบริการสุขภาพ

  28. การจัดทำหนังสือ Thailand Medical Services Profile ที่มาและความสำคัญ สำนักที่ปรึกษา กรมการแพทย์ ข้อเสนอการปรับบทบาทกระทรวงสาธารณสุข 11 ประเด็น NHA กรมการแพทย์เป็นกรมวิชาการมีการพัฒนาบทบาทงานวิชาการเพื่อสนับสนุนการเสนอแนะนโยบายด้านการรักษาฟื้นฟูฝ่ายกาย ควรปรับบทบาทสู่ NHA การจัดทำ TMSP เป็นการพัฒนาสารสนเทศข้อมูลวิชาการแพทย์ เพื่อใช้เป็น Evidence based เชื่อมโยงกับระบบ M&E และ Technical support เป็นพื้นฐานสำคัญนำไปสู่การพัฒนาอื่นๆ ที่สอดคล้องกับนโยบาย

  29. ประเด็นในการจัดทำThailand Medical Services Profile ประเด็นในการจัดทำ ประกอบด้วย สำนักที่ปรึกษา กรมการแพทย์ • Stroke • Cancer • HT/DM • CKD • Narcotics • MI • Eye • Rehab • Newborn • หู คอ จมูก • มารดา/ทารก • เวชศาสตร์ฉุกเฉิน • อาชีวเวชศาสตร์ • Ortho • โรคติดเชื้อ • ไข้เลือดออก • ทันตกรรม

  30. Service Plans Priority Setting What Plan How System Approach Cost-Effectivenessintervention Goal Setting • Information • ข้อมูลวิชาการ When Phasing Where รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. Service implement • Technical Support กลุ่มวัย Whom M & E

  31. Technical Support • ฝึกอบรม ระยะสั้น - ยาว • บรรยายวิชาการ ประชุมวิชาการ • นิเทศ • แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวทาง นวตกรรม • เอกสาร วารสารวิชาการ • มหกรรม ประกวดผลงาน • เครือข่ายรับส่งต่อ • บริการส่วนขาด (เช่น ขาเทียม เครื่องช่วยคนพิการ) • การพัฒนา Technical Support อาศัยความร่วมมือทุกภาคส่วน เช่นมหาวิทยาลัย ราชวิทยาลัย ต่างประเทศ ฯลฯ

  32. Service Plans Priority Setting What Plan How System Approach Cost-Effectivenessintervention Goal Setting • Information • ข้อมูลวิชาการ When Phasing Where รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. Service implement • Technical Support กลุ่มวัย Whom • M & E M & E

  33. Monitoring and Evaluation • นิเทศ ติดตาม • พัฒนาระบบติดตาม ฐานข้อมูล M&E • ติดตาม KPI • พัฒนาระบบ Benchmarking • พัฒนา Clinical Audit

  34. ระบบติดตามประเมินผล M&E และให้การสนับสนุนทางวิชาการ • ปรับระบบแพทย์เขตของกรมการแพทย์ให้ตอบสนองต่อการเป็น Regulator โดยเฉพาะระบบ M&E และ Technical Support • ผู้อำนวยการแพทย์เขตของกรมการแพทย์ ทำหน้าที่เป็นผู้ติดตาม ประสานการสนับสนุนด้านวิชาการ การพัฒนาการแพทย์ของเขตบริการสุขภาพ โดยเน้น service plan และปัญหาด้านการแพทย์อื่นๆ ภายในเขตฯ • โรงพยาบาล/สถาบันของกรมการแพทย์ พัฒนาระบบติดตามและให้การสนับสนุนทางวิชาการในแต่ละ agenda ที่สำคัญ

  35. บทบาทภารกิจใหม่ของกรมการแพทย์บทบาทภารกิจใหม่ของกรมการแพทย์ กรมการแพทย์ เพิ่มบทบาทการเป็นองค์กรกลาง (organizer)เพื่อให้เกิดการบูรณาการ โดยอาศัยความเชี่ยวชาญของกรมการแพทย์และรวบรวมความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในเรื่องการแพทย์ที่กำหนด ได้แก่ ประเด็นของการเป็น NHA 12 ประเด็น เพื่อเกิดการดำเนินงานตามนโยบายอย่างเหมาะสม

  36. การวิเคราะห์การปรับโครงสร้างของกรมการแพทย์ที่จำเป็น ในการเป็น NHA regulator

  37. การปรับโครงสร้างส่วนราชการของกรมการแพทย์ หมายถึงหน่วยงานที่กำหนดใหม่ กลุ่มตรวจสอบภายใน กรมการแพทย์ หมายถึงหน่วยงานที่เปลี่ยนชื่อใหม่ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร โรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี สำนักบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักวิชาการแพทย์ โรงพยาบาลเลิดสิน โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) สำนักตรวจราชการ สถาบันทันตกรรม โรงพยาบาลสงฆ์ สำนักยุทธศาสตร์การแพทย์ สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ สำนักสารสนเทศการแพทย์ สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ สถาบันประสาทวิทยา สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ สถาบันพยาธิวิทยา โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ สำนักงานคณะกรรมการพิจารณาการศึกษาวิจัยในคน สถาบันโรคทรวงอก โรงพยาบาลมะเร็งภูมิภาค ชลบุรี สถาบันมะเร็งแห่งชาติ สถาบันโรคผิวหนัง โรพยาบาลมะเร็งภูมิภาค ลำปาง โรงพยาบาลมหาวชิราลงกรณธัญบุรี สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี โรงพยาบาลมะเร็งภูมิภาค ลพบุรี โรงพยาบาลมะเร็งภูมิภาคสุราษฎร์ธานี โรงพยาบาลยาเสพติดธัญญารักษ์ โรงพยาบาลมะเร็งภูมิภาคอุบลราชธานี โรงพยาบาลมะเร็งภูมิภาค อุดรธานี

  38. การปรับโครงสร้างส่วนราชการของกรมการแพทย์ โรงพยาบาล/สถาบัน/ศูนย์ กลุ่มภารกิจอำนวยการ กลุ่มภารกิจสู่การเป็นองค์กรสุขภาพระดับชาติ (NHA) กลุ่มภารกิจวิชาการ กลุ่มภารกิจบริการวิชาการ

  39. Stroke Cancer HT/DM CKD Narcotics MI Eye Rehab Newborn หู คอ จมูก มารดา/ทารก เวชศาสตร์ฉุกเฉิน อาชีวเวชศาสตร์ Ortho โรคติดเชื้อ ไข้เลือดออก ทันตกรรม ฯลฯ การเชื่อมโยงโครงสร้าง หน่วยงานกลาง และ โรงพยาบาล/สถาบันของกรมการแพทย์ เพื่อการเป็น NHA ส่วนกลาง ร.พ. / สถาบัน กลุ่มภารกิจ NHA

  40. ข้อเสนอแนะ White Papers Stroke Cancer HT/DM CKD Narcotics MI Eye Rehab Newborn หู คอ จมูก มารดา/ทารก เวชศาสตร์ฉุกเฉิน อาชีวเวชศาสตร์ Ortho โรคติดเชื้อ ไข้เลือดออก ทันตกรรม ฯลฯ การเชื่อมโยงในระดับนโยบาย Purchasers ผู้บริหารกรม อธิบดี / รองอธิบดี ผู้บริหาร สธ. รมว./ปลัด/รองปลัด/ผู้ตรวจฯ ร.พ. / สถาบัน ส่วนกลาง กลุ่มภารกิจ NHA

  41. Service Plan Cube • สารสนเทศการแพทย์Information • ระบาดวิทยา • Burden of Diseases • Economic Burden • Quality of Care • Resources • TA • ระบบวิชาการแพทย์ KM • วิจัย • TA Model Development • Survey • ทบทวนวารสาร • ถอดบทเรียน • เฝ้าระวัง, ลงทะเบียนโรค • สืบค้นฐานข้อมูล รายงาน • การสนับสนุนด้านวิชาการ • Technical Support • การติดตามกำกับ • Monitoring & Evaluation กลุ่มเป้าหมาย อายุ 0-5 ปี /สตรี วัยเรียน อายุ 5-14 ปี วัยรุ่น/นักศึกษา อายุ 15-21 ปี วัยทำงาน อายุ 15-59 ปี อายุ 60 ปี ขึ้นไป /คนพิการ ระบบบริการสุขภาพ รพ. สถาบัน ศูนย์ กรมการแพทย์ NCD(DM HT stroke COPD) บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิและสุขภาพองค์รวม รพศ.(A) ตาและไต 5 สาขาหลัก สุขภาพช่องปาก รพท.(S-M1) จิตเวช ทารกแรกเกิด กก.สาขาโรคไม่ติดต่อ(NCD) รพช.(M1-F3) อุบัติเหตุ กก.สาขาบริการปฐมภูมิฯ มะเร็ง หัวใจและหลอดเลือด กก.สาขาไตและสาขาตา รพ.สต. กก. 5 สาขาหลัก กก.สาขาสุขภาพช่องปาก กก.สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช สถานบริการสุขภาพ กก.สาขาทารกแรกเกิด กก.สาขาอุบัติเหตุ กก.สาขาโรคมะเร็ง กก.สาขาโรคหัวใจ กระทรวงสาธารณสุข กรมการแพทย์ รายงานทุก วันพฤหัสบดี ประสานงาน รายงานทุก วันศุกร์ สบรส. อธิบดี รองอธิบดี เลขานุการ SP สำนักงานแพทย์เขต 12 เขตบริการสุขภาพ ผอ.สำนักการแพทย์เขต 12 เขต : Service Plan Manager สีนำเงิน, เขียว : กรมการแพทย์เป็นเจ้าภาพหลัก ดัดแปลงมาจาก Health Care Cube ของนพ.ปานเนตร ปางพุฒิพงษ์ และรองอธิบดี น.พ.ณรงค์ อภิกุลวณิช

  42. โครงการสนับสนุนการเป็นเมืองศูนย์กลาง บริการสุขภาพใน ASEAN(ต่อ) กรมการแพทย์จะมุ่งมั่นพัฒนางาน “เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าของประชาชน” • โครงการดูแลสุขภาพแรงงานไทย ในประเทศอาเซียน • โครงการจัดหน่วยบริการที่เป็นเลิศ (Excellent Center) ในการเป็นศูนย์กลาง การฝึกอบรมด้านการแพทย์สำหรับ กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน (14 โครงการ) www.dms.moph.go.th

More Related