1 / 56

การบรรยายพิเศษ เรื่อง “ Theme : งานวิจัยระดับบัณฑิตกับกรอบแนวทางการวิจัยแห่งชาติ ” โดย

การบรรยายพิเศษ เรื่อง “ Theme : งานวิจัยระดับบัณฑิตกับกรอบแนวทางการวิจัยแห่งชาติ ” โดย ศาสตราจารย์ ดร.อานนท์ บุณยะรัตเวช เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติครั้งที่ 1 วันพุธที่ 1 สิงหาคม 2550 เวลา 09.45 – 10.30 น.

lea
Download Presentation

การบรรยายพิเศษ เรื่อง “ Theme : งานวิจัยระดับบัณฑิตกับกรอบแนวทางการวิจัยแห่งชาติ ” โดย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบรรยายพิเศษ เรื่อง “ Theme : งานวิจัยระดับบัณฑิตกับกรอบแนวทางการวิจัยแห่งชาติ ” โดย ศาสตราจารย์ ดร.อานนท์ บุณยะรัตเวช เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติครั้งที่ 1 วันพุธที่ 1 สิงหาคม 2550 เวลา 09.45 – 10.30 น. ณ อาคารนิเทศศาสตร์คอมเพล็กซ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต

  2. ภาพที่ 15

  3. ภาพที่ 9 ภาพรวมรายงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ใน ห้องสมุดงานวิจัย 2549 รายงานวิจัย 45,807 (29.3%) วิทยานิพนธ์ 110,474 (70.7%) 156,281 ชื่อเรื่อง 30 เม.ย. 2549

  4. ภาพที่ 11 รายงานวิจัยแบ่งตามกลุ่มสาขาสภาวิจัยแห่งชาติ ปี 2549 กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ 11,720 (26.6%) 23,662 (51.7%) 10,425 (22.7%) กลุ่มสาขาเกษตรศาสตร์ กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์ 45,807 ชื่อเรื่อง 30 เม.ย. 2549

  5. ภาพที่ 12 วิทยานิพนธ์แบ่งตามกลุ่มสาขาสภาวิจัยแห่งชาติ ปี 2549 กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ 32,108 (38.1%) 65,299 13,067 (50.1%) (11.8%) กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์ กลุ่มสาขาเกษตรศาสตร์ 45,807 ชื่อเรื่อง 30 เม.ย. 2549

  6. 6.3 สถิติของจำนวนวิทยานิพนธ์ที่หน่วยงานวิจัยทั่วประเทศส่งให้ วช. รวบรวม 1) รายชื่อหน่วยงานที่จัดส่งวิทยานิพธ์ 30 อันดับแรก ตุลาคม 2548 - กรกฎาคม 2549

  7. # ; ร = หน่วยงานของรัฐ อ = หน่วยงานเอกชน

  8. 6.4 บทบาทของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ในการส่งเสริมบัณฑิตศึกษาของประเทศ 1) การพัฒนานักวิจัยบัณฑิตศึกษาที่ผ่านมา (1) การจัดสรรทุนเพื่อการวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษา (2)การฝึกอบรมหลักสูตร “ นักวิจัยทางสังคมศาสตร์ ” 2) การพัฒนานักวิจัยบัณฑิตศึกษาที่ผ่านมาถึงปัจจุบัน (1) การให้รางวัลวิทยานิพนธ์ สำหรับนักศึกษาไทยระดับปริญญาเอก (2) ให้รางวัลผลงานวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทยประเภทวิทยานิพนธ์ทั้งระดับปริญญาโทและปริญญาเอก

  9. กรอบการวิจัยของบัณฑิตศึกษา ดำเนินการวิจัยตามกรอบหลัก ดังนี้ 1. กรอบการวิจัยของสถาบันอุดมศึกษานั้นๆ 2. กรอบการวิจัยตามนโยบายวิจัยการวิจัยของ แผนการวิจัยอุดมศึกษาของชาติ 3. กรอบการวิจัยตามนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ 4. กรอบการวิจัยตามแหล่งทุนกำหนด 5. กรอบการวิจัยตามนโยบายของรัฐ

  10. สาระสำคัญของ นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (พ.ศ. 2551-2553)

  11. ความเชื่อมโยงของนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติความเชื่อมโยงของนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ นโยบายและแนวทาง การวิจัยของชาติ ระยะยาว แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550-2554 (5 ปี) นโยบายและยุทธศาสตร์ การวิจัยของชาติ พ.ศ. 2551-2553 (3 ปี) นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์และแผนงานวิจัย แบบบูรณาการ ระยะปานกลาง พ.ศ. 2548-2550 (3 ปี) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545-2549 (5 ปี) นโยบายและแนวทางการวิจัย ของชาติ ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2545-2549 (5 ปี)

  12. กรอบแนวคิดของนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติกรอบแนวคิดของนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ ● บนพื้นฐานของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ● ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่าย ที่เกี่ยวข้อง ● สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10 บรรลุเป้าหมายการพัฒนาประเทศ

  13. วิสัยทัศน์และพันธกิจการวิจัย วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีงานวิจัยที่มีคุณภาพเพื่อการพัฒนา ที่สมดุลและยั่งยืน” พันธกิจ“พัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในการวิจัยของ ประเทศให้สูงขึ้นและสร้างฐานความรู้ที่มีคุณค่าเพื่อสามารถ ประยุกต์และพัฒนาวิทยาการที่เหมาะสม รวมทั้งต่อยอดภูมิปัญญา ท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์เชิงพาณิชย์และสาธารณะ โดยใช้ทรัพยากร และเครือข่ายวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพที่ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม”

  14. ยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติมี 5 ประเด็น ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 1 : การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการ พัฒนาทางเศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 2 : การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการ พัฒนาทางสังคม ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 3 : การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการ พัฒนาทางวิทยาการและทรัพยากรบุคคล ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 4 : การเสริมสร้างและพัฒนาทุนทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์การวิจัยที่ 5 : การบริหารจัดการความรู้ ผลงานวิจัย ทรัพยากร และภูมิปัญญาของประเทศ สู่การใช้ประโยชน์ด้วยยุทธวิธีที่เหมาะสม

  15. สรุปงบประมาณการวิจัยที่คาดว่าจะใช้ตามยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (พ.ศ. 2551-2553) รวมทั้งสิ้น 69,000 ล้านบาท หน่วย : ล้านบาท

  16. กลุ่มเรื่องที่ควรวิจัยเร่งด่วนและงบประมาณกลุ่มเรื่องที่ควรวิจัยเร่งด่วนและงบประมาณ ที่คาดว่าจะใช้ต่อปี ดังนี้

  17. แนวโน้มตามนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ จะผลักดันให้นักวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาเพิ่มจำนวนมากขึ้น โดยการสนับสนุนทุนเพื่อพัฒนา

  18. นักวิจัย หน่วยงานภาครัฐ สถาบันอุดมศึกษา - ผู้ช่วยนักวิจัย - นักวิจัยบัณฑิตศึกษา นักวิจัย ภาคประชาชน นักวิจัยของประเทศ นักวิจัย ภาคเอกชน

  19. กรอบการพัฒนาบัณฑิตศึกษาตามนโยบาย และยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (พ.ศ. 2551-2553) - ต้องการเพิ่มนักวิจัยของประเทศตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 ให้มีนักวิจัย 10 คน / ประชากร 10,000 คน - ใช้การวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษาเป็นส่วนหนึ่งเพื่อเพิ่มจำนวน นักวิจัยของประเทศ โดยวิธี 1. สนับสนุนการสร้างผู้ช่วยนักวิจัยที่เป็นบัณฑิตศึกษา 2. สนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ / สารนิพนธ์ ที่มีคุณภาพ และสามารถตีพิมพ์ลงในวารสารที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ 3. สร้างเงื่อนไขโครงการวิจัยให้มีการสร้างนักวิจัยขึ้น โดยเฉพาะในสถาบันอุดมศึกษา

  20. ในอนาคต สถาบันอุดมศึกษามีบทบาทสำคัญที่สุดในการผลิตนักวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษา จึงเรียกว่า “ มหาวิทยาลัยวิจัย ” และ วช. ในฐานะองค์กรหลักทางการวิจัยของประเทศ จะช่วยพัฒนากระบวนการ นโยบายวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาให้มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กับนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติทั้งระยะสั้นและระยะยาวเพื่อเชื่อมต่อส่วนขาด (Missing Link) ให้เติมเต็มมากที่สุด

  21. แผนภาพที่ 16 เส้นทางอาชีพนักวิจัยในระบบวิจัยที่ยั่งยืน ผู้บริหารระดับสูง (หน่วยงานวิจัย) ป.ตรี ป.โท ป.เอก ภาคหน่วยงานราชการ นักวิจัย หลัง ป.เอก (post-doc) ภาคการผลิต/ บริการ ภาคสถาบันวิจัยของรัฐ นักวิจัย นักวิจัย นักวิจัยประสบการณ์สูง ภาคมหาวิทยาลัย (ผู้ช่วย) ทรัพยากรป้อนเข้า กลับคืนสู่ระบบวิจัย - งบประมาณ(ภาษี) - การลงทุนวิจัยและพัฒนา (จากภาคผู้ประกอบการ) มูลค่า/คุณค่าผลการวิจัย (เชิงพาณิชย์และสาธารณประโยชน์)

  22. 2) ประเทศไทยไม่มีวัฒนธรรมการเชื่อมโยงระหว่างภาควิชาการและภาค อุตสาหกรรมที่เข้มแข็ง จึงควรต้องมีกระบวนการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรจากทั้งสองฝ่าย โดยภาคเอกชนต้องเข้ามามีส่วนร่วมตั้งแต่การคิดโจทย์วิจัย (คน : รายหัว) ไทย เกาหลีใต้ ปริญญาเอก 79,202 (27%) 52,595 (27%) ภาพที่ 17 27,576 (20%) 4,879 (6%) ที่มา 1. Thailand’s figures (2542-2546) : NRCT and NSTDA , 2. Korean figures (2542-2549) : MOST

  23. ดังนั้น จึงควรต้องพัฒนากำลังคนด้าน S&T ระดับสูง โดย 1) ปรับระบบการสร้างบัณฑิตระดับปริญญาโทและเอกด้าน S&T ให้มุ่ง ในสาขาที่เป็นยุทธศาสตร์หลักของประเทศ 2) ระบบในข้อ 1) ให้มีความเชื่อมโยงกับภาคธุรกิจ 3) ให้มีการพัฒนาโครงการวิจัยขนาดใหญ่ (mega project) ในสาขาที่เป็นยุทธศาสตร์ของประเทศ เช่น การเกษตร การแพทย์ พลังงาน ฯลฯ เพื่อเกิดผลดีดังนี้ 1) เป็นแหล่งบ่มเพาะและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญจากการทำงานวิจัย 2) เป็นแหล่งรองรับบัณฑิตด้าน S&T ให้มีเส้นทางอาชีพที่ก้าวหน้าและมั่นคง

  24. Social Frameworks Life-long learning The HE/R System Core competences HE R Training researchers Integrative research Researcherson HE Regional development Enterprises and Non-profits Public policies ภาพที่ 18 Higher Education & Research ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) , 2549

  25. ค่าใช้จ่ายทางR&Dของประเทศและงบประมาณแผ่นดินในR&Dค่าใช้จ่ายทางR&Dของประเทศและงบประมาณแผ่นดินในR&D งบประมาณสำหรับการวิจัยของประเทศไทยอยู่ในอัตราที่หดตัวลง GB=Government Budget

  26. ดัชนีบุคลากรทางการวิจัยและพัฒนาดัชนีบุคลากรทางการวิจัยและพัฒนา ดัชนีบุคลากรทางการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทยอยู่ในอัตราที่หดตัวลง

  27. จำนวนบุคลากร การวิจัยและพัฒนา จำนวนนักวิจัย

  28. ภาพแสดงอัตราร้อยละของค่าใช้จ่ายทางการวิจัย และพัฒนาต่อผลผลิตรวมในประเทศของประเทศไทยเปรียบเทียบกับต่างประเทศ Thailand หมายเหตุ : * 2003 , ** 2004 , *** 2005

  29. ภาพแสดงจำนวนนักวิจัยเทียบเท่าเต็มเวลา (FTE) ต่อประชากร 10,000 คน ของประเทศไทยเปรียบเทียบกับต่างประเทศ Thailand หมายเหตุ : * 1998 , ** 2001 , *** 2002 , **** 2003 , ***** 2005

  30. การสร้าง ระบบวิจัยที่สมดุล และ ยั่งยืน การดำเนินการตามอุปทาน (Supply)นักวิจัย • Basic Research • Capacity Building • โครงการที่ไม่ประสบความสำเร็จ งบประมาณต่อโครงการ Equilibrium • มีประสิทธิภาพการจัดการสูง • มีวิสัยทัศน์ (เตรียมพร้อม) • นักวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญสูง การดำเนินการตามอุปสงค์ (Demand) ผู้ใช้ผลงานวิจัย จำนวนโครงการที่ให้ผลสำเร็จต่อประชาสังคมและประเทศ

  31. จำนวนโครงการและงบประมาณการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ตามมติคณะรัฐมนตรีและได้รับการสนับสนุนจาก วช.

  32. จำนวนโครงการและงบประมาณการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ตามมติคณะรัฐมนตรี และได้รับการสนับสนุนจาก วช.จำแนกตามยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 90 โครงการ (117,244,523 บาท) 34 โครงการ (27,970,152 บาท) 686 โครงการ (757,533,326 บาท) 6 930 โครงการ (1,228,070,020 บาท) 5 4 1 2 3 442 โครงการ (450,693,498 บาท) 811 โครงการ (1,619,870,060 บาท) 1 2 3 4 5 6

  33. จำนวนโครงการและงบประมาณการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ตามมติคณะรัฐมนตรี และได้รับการสนับสนุนจาก วช. จำแนกตามประเภทการวิจัย 335 โครงการ (339,161,142 บาท) 667 โครงการ (869,617,267 บาท) 1,991 โครงการ (2,992,603,170 บาท)

  34. ระดับนโยบายระดับหน่วยงานให้ทุนและหน่วยงานปฏิบัติระดับผู้ใช้ประโยชน์ระดับนโยบายระดับหน่วยงานให้ทุนและหน่วยงานปฏิบัติระดับผู้ใช้ประโยชน์ ร่างโครงสร้างระบบวิจัยของประเทศไทย รัฐบาล สศช. สงป. สภาวิจัย วช. องค์กรวิจัยต่างประเทศ สนับสนุนโครงสร้างพื้นฐาน (คลังข้อมูลวิจัย พัฒนาบุคลากรด้านการวิจัย ฯลฯ) ติดตามประเมินผลการวิจัยในภาพรวม นโยบายด้านการวิจัย สำนักนายกฯ ก.สาธารณสุข กระทรวงอื่นๆ ก.ศึกษาธิการ ก.เกษตร หน่วยงานอิสระที่ไม่ใช่ราชการ นอกเหนือจากหน่วยงานข้างต้น กระทรวงวิทย์ฯ สวรส. มหาวิทยาลัย สวก. สวทช. สนช. สกว. วิจัยชุมชน - National Agenda องค์กรวิจัยต่างประเทศ หน่วยวิจัย/TLO หน่วยวิจัย/TLO หน่วยวิจัย/TLO หน่วยวิจัย/TLO หน่วยวิจัย/TLO หน่วยวิจัย/TLO หน่วยวิจัย/TLO ผู้ใช้ผลงานวิจัย / หน่วยงานรัฐและเอกชน / ประชาชน ประสานงานวช. ติดตามประเมินผลความเชื่อมโยงกับต่างประเทศการกำหนดและขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิบัติและใช้ประโยชน์ องค์กรวิจัยต่างประเทศ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 10 ก.ค. 50

  35. ระบบวิจัยของประเทศและกลไกในการขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จระบบวิจัยของประเทศและกลไกในการขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จ โครงสร้างของหน่วยในระบบวิจัยของประเทศ 4 ด้าน คือ 1. ด้านนโยบายการวิจัยระดับชาติ 2. ด้านการสนับสนุนการวิจัย 3. หน่วยปฏิบัติการวิจัย 4. ผู้ใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและประชาชน ตามแผนภูมิที่กำหนดสามารถอธิบายได้ดังนี้

  36. ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบวิจัยประโยชน์ที่ได้รับจากระบบวิจัย มีดังนี้ 1. ประเทศไทยมีระบบวิจัยที่เป็นเอกภาพ (Unity) 2. หน่วยงานต่างๆให้ใช้ศักยภาพภายใต้ทรัพยากรและงบประมาณประจำที่มีอยู่โดยไม่สิ้นเปลืองงบประมาณเพิ่มเติม (Cost effectiveness) 3. มีการวัดความสำเร็จในการขับเคลื่อนการวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศได้อย่างมีทิศทางตามยุทธศาสตร์ (Strategic direction) 4. เป็นระบบที่สร้างแรงเสริมเพิ่ม (Synergy) ทางด้านศักยภาพองค์กรบุคลากรและการร่วมสร้างความสำเร็จ

  37. ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบวิจัย (ต่อ 1) 5. เป็นการใช้งบประมาณการวิจัยที่เทียบเคียงกับงบประมาณภาพรวมของประเทศและ/หรือ GDP ที่ประเมิน/วางแผน/และดำเนินการต่อเนื่องได้ตามรายปีงบประมาณและตามรายไตรมาสตลอดจนแผนและผลระยะยาวที่สามรถเทียบเคียงกับต่างประเทศ (Bench mark) และประเด็นปัญหาสำคัญของประเทศได้ (Marker of movement) 6. เป็นการใช้ทรัพยากรต่างศาสตร์สาขาวิทยาการ (Multidisciplinary approach) ร่วมกับการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบโดยมีระบบสารสนเทศด้านฐานข้อมูลและระบบบริหารงานวิจัย (NRPM)  

  38. ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบวิจัย (ต่อ 2) 7. สามารถใช้ผลงานที่ได้จากการวิจัยได้ทันกาล (Real time) และเป็นสถานการณ์จริง (Real situation) ที่ได้รวบรวมเป็นองค์รวม (Holistic collection)เพื่อ ใช้ในการตัดสินใจ และการดำเนินการในการพัฒนาประเทศ 8. สร้างระบบกระบวนการเร่งการผลักดัน (Accelerating Input) อย่างมีประสิทธิภาพ และวัดประสิทธิผลได้อย่างชัดเจน และเที่ยงธรรม 9. ก่อให้เกิดการพัฒนาประเทศอย่างสมดุลและยั่งยืน (Equivalence and sustainability)

  39. Unity Strategic direction Synergy Marker of movement Equivalence and sustainability Cost effectiveness Accelerating Input Real time Real situation Holistic collection Multidisciplinary approach

  40. บัณฑิตกับการพัฒนาประเทศบัณฑิตกับการพัฒนาประเทศ • บัณฑิต กับ การสร้างวัฒนธรรมฐานความรู้ • บัณฑิต กับ การพัฒนาประเทศแบบความยั่งยืน

  41. ศักยภาพในการดำเนินการวิจัยที่สนองต่อศักยภาพในการดำเนินการวิจัยที่สนองต่อ Knowledge Based Economy/Society/Culture (KBE/S/C) Speed Development Sustainability

  42. Dual targets/single track Dual Targets: 1. Knowledge based economy 2. Sustainability KBE Sustainability

  43. ความเชื่อมโยงระบบวิจัยที่นำไปสู่เศรษฐกิจฐานความรู้ KBE (Knowledge based Economy) การขยายผล เศรษฐกิจฐานความรู้ การสร้างองค์ความรู้ การกระจายความรู้ นักวิจัย สังคมฐานความรู้ ระบบวิจัย ประชาชน ความยั่งยืน วัฒนธรรมฐานความรู้ Input

  44. ตารางแสดงอัตราร้อยละของค่าใช้จ่ายทางการวิจัยและพัฒนาต่อผลผลิตรวมในประเทศ ของประเทศไทยเปรียบเทียบกับต่างประเทศ

  45. ตารางแสดง จำนวนนักวิจัยเทียบเท่าเต็มเวลา (FTE) ต่อประชากร 10,000 คน ของประเทศไทยเปรียบเทียบกับต่างประเทศ

  46. มูลค่าเพิ่ม การสร้างรายได้ การสร้างศักยภาพ ขาย วิจัย การลงทุน ผลิต Product Development

  47. ศาสตร์ สาขา วิชาการ ระบบ กระบวนการจัดการ ความเชี่ยวชาญ ของนักวิจัย นักวิจัย องค์กรวิจัย ผลงานวิจัย ฐานข้อมูล มุ่งไปสู่ -ภาคการผลิต/อุตสาหกรรม -ภาคบริการ -ภาคประชาชน+มนุษย์ชาติ -ทรัพยากร / โลก องค์ความรู้

More Related