E N D
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระดับต่าง ๆ มีหลายระดับแต่ละระดับมีความสำคัญ1. การให้สิทธิพิเศษทางการค้า ( Preferential Trade Arrangment ) 2. เขตการค้าเสรี ( Free trade Area ) 3.สหภาพภาษีศุลกากร ( Custom Union ) 4.ตลาดร่วม ( Common Market) 5. สหภาพเศรษฐกิจ ( Economic Union )
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจทฤษฎีเบื้องต้นสหภาพภาษีศุลกากร ( The Basic Theory Custom Union )การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจมักเกิดผลทางเศรษฐกิจ 2 ลักษณะที่ตรงข้ามกัน คือ การสร้างปริมาณการค้า (Trade Creation) และการเบี่ยงเบนทางการค้า (Trade Diversion)สหภาพยุโรป (European Union)ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า (แกตต์) General Agreement on Tariff and Trade : GATTองค์การการค้าโลก ( World Trade Organization)การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและพัฒนา ( United Nation Conference on Trade Development : UNCTAD)เขตการค้าเสรีอาเซียน (Free Trade Area : FTA )AEC ฯลฯ
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจปัจจัยในการรวมกลุ่ม การรวมกลุ่มประเทศอาจเกิดจากปัจจัยและองค์ประกอบที่หลากหลายวัตถุประสงค์มีลักษณะร่วมกันทั้งการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ในทางเศรษฐกิจมุ่งหมายจะช่วยให้เกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยส่วนรวมและมีการแบ่งการผลิตตามความชำนาญของแต่ละประเทศสมาชิก เพื่อให้กลุ่มมีความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและมีพลังต่อรองกับกลุ่มเศรษฐกิจนอกภูมิภาค ตลอดจนใช้ในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเป็นยุทธวิธีหนึ่งในการพัฒนาไปสู่ความเป็นประเทศอุตสาหกรรมโดยรวดเร็ว ส่วนในทางสังคมมุ่งหมายที่จะให้ประเทศสมาชิกร่วมมือซึ่งกันและกัน ในการหาวิธีการแก้ปัญหาที่เผชิญอยู่ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ระเบียบเศรษฐกิจใหม่ โลกในยุคหลังสงครามเย็น เกิดปรากฎการณ์รวมทางเศรษฐกิจเกือบทั่งทั้งภูมิภาค เช่นการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (NAFTA) ของอเมริกา แคนาดาและแม็กซิโก การเปลี่ยนแปลงของประชาคมยุโรป (EC) มาสู่สหภาพยุโรป (EU) ตลาดในละตินอเมริกาAFTAการร่วมมือทางเศรษฐกิจการร่วมมือทางเศรษฐกิจเป็นการร่วมประสานงานให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ตั้งแต่ 2 ประเทศขึ้นไป เช่น ช่วยเหลือด้านปัจจัยการผลิต วัตถุดิบ กึ่งวัตถุดิบ
ทฤษฎีและแนวคิดเศรษฐกิจพึ่งพา 1. แนวคิดสมาพันธ์รัฐนิยม กำหนดมีหน่วยงานกลางระหว่างประเทศตั้งแต่ 2 ประเทศขึ้นไป หน่วยงานกลางจะรับมอบอำนาจหน้าที่จากประเทศสมาชิกเพื่อบริหารตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด 2. แนวคิดภารกิจนิยม เน้นความร่วมมือกันและประสานผลประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิก ในภารกิจใดภารกิจหนึ่ง เช่น การลงทุนการค้า การคมนาคม 3. แนวคิดภารกิจนิยมใหม่ เหมือนแนวคิดภารกิจนิยม แต่มีการจัดตั้งองค์กรกลางเพื่อผลักดัน สนับสนุให้การบริหารงานมีประสิธิภาพ 4. แนวคิดปฎิสัมพันธ์นิยม การรวมตัวของประเทศสมาชิกควรพัฒนาจากการมีปฏิสัมพันธ์จากประชาชนแต่ละประเทศ
รูปแบบการรวมตัวทางเศรษฐกิจมี 2 รูปแบบใหญ่ๆ 1. เขตการค้าเสรี เป็นการรวมกลุ่มที่มีข้อตกลงระหว่างประเทศเพื่อยกเลิกข้อกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศสมาชิก แต่กีดกันทางการค้าระหว่างประเทศของกลุ่มนอกสมาชิก 2. สหภาพศุลกากร เป็นการรวมกลุ่มโดยสร้างข้อตกลง โดยสร้างข้อตกลงระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิก เพื่อยกเลิกข้อกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศสมาชิก และกำหนดข้อกีดกันการค้าทั่วๆไปสำหรับประเทศนอกกลุ่มสมาชิกสหภาพยุโรปความตกลงการค้าอเมริกาเหนือความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคละตินอเมริกาเขตการค้าเสรีเมริกาความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก WTO,UNITED,ฯลฯความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับอนุภูมิภาค- สามเหลี่ยมเศรษฐกิจ, - สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ , - หกเลี่ยมเศรษฐกิจ