1 / 76

การใช้สมุนไพรเพื่อการเกษตร

การใช้สมุนไพรเพื่อการเกษตร. ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น. สมุนไพรควบคุมศัตรูพืช. เป็นพืชที่มีส่วนต่าง ๆ เช่น ใบ ราก เปลือก ดอก ผล ที่มีสารออกฤทธิ์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช จะมีผลกระทบต่อระบบประสาท และระบบหายใจ ทำให้แมลงตายทันที

lavonn
Download Presentation

การใช้สมุนไพรเพื่อการเกษตร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้สมุนไพรเพื่อการเกษตรการใช้สมุนไพรเพื่อการเกษตร ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น

  2. สมุนไพรควบคุมศัตรูพืชสมุนไพรควบคุมศัตรูพืช เป็นพืชที่มีส่วนต่าง ๆ เช่น ใบ ราก เปลือก ดอก ผล ที่มีสารออกฤทธิ์ทั้งทางตรงและทางอ้อม ในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช จะมีผลกระทบต่อระบบประสาท และระบบหายใจ ทำให้แมลงตายทันที จะมีผลต่อระบบอื่น ๆ โดยการไปยับยั้งการกินอาหาร การลอกคราบ การเจริญเติบโตของแมลง

  3. การใช้สมุนไพรกำจัดศัตรูพืชการใช้สมุนไพรกำจัดศัตรูพืช ดอก ควรเก็บในระยะดอกตูมเพิ่งจะบาน ผล ควรเก็บในระยะที่ผลยังไม่สุก เพราะสารต่าง ยังไม่ถูกส่งไปเลี้ยงเมล็ด เมล็ด ควรเก็บในระยะที่ผลสุกงอมเต็มที่ ซึ่งเป็นระยะที่เมล็ดแก่เต็มที่ และจะมีสารต่าง ๆ สะสมอยู่ในปริมาณมาก

  4. สมุนไพรควบคุมศัตรูพืชสมุนไพรควบคุมศัตรูพืช หัวและราก ควรเก็บในระยะที่เริ่มมีดอก เพราะระยะนี้ต้นพืชจะมีการสะสมสารต่าง ๆ ไว้ที่รากและควรเก็บในฤดูหนาวปลายฤดูร้อน เพราะเป็นช่วงที่กระบวนสังเคราะห์แสงหยุดทำงาน เปลือก ควรเก็บก่อนที่จะมีการผลิใบใหม่และควรเก็บในฤดูร้อนและฤดูฝน

  5. สะเดา

  6. สะเดา • สะเดามีสารสำคัญ คือ อาซาไดแรคติน • -ยับยั้งการลอกคราบของแมลง -ยับยั้งการกินอาหารชนิดถาวร จนทำให้แมลงตายในที่สุด -ยับยั้งการเจริญเติบโตของไข่ หนอน และดักแด้ -เป็นสารไล่แมลง -ยับยั้งการวางไข่ของแมลง ทำให้ปริมาณไข่ลดลง

  7. การป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืชการป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช • ผักตระกูลกะหล่ำ: หนอนใยผัก หนอนคืบกะหล่ำ หนอนกระทู้หอม หนอนกระทู้ผัก หนอนเจาะยอดกะหล่ำ เพลี้ยอ่อนกะหล่ำ ด้วงหมัดผัก • ถั่วฝักยาว: หนอนเจาะฝักถั่ว หนอนผีเสื้อสีน้ำเงิน หนอนแมลงวันเจาะต้นถั่ว หนอนกระทู้หอม หนอนแมลงวันชอนใบถั่ว • หน่อไม้ฝรั่ง: หนอนกระทู้หอม หนอนเจาะสมอฝ้าย* • กระเจี๊ยบเขียว: เพลี้ยจักจั่นฝ้ายหนอนเจาะสมอฝ้าย*

  8. การป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืชการป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช • หอมแดง: หนอนกระทู้หอม* • มะเขือเทศ: หนอนเจาะสมอฝ้าย แมลงหวี่ขาวยาสูบ • มะเขือเปราะ: เพลี้ยจักจั่นฝ้าย หนอนเจาะผลมะเขือ หนอนเจาะยอดมะเขือ • ถั่วเขียว: หนอนกระทู้หอม หนอนกระทู้ผัก หนอนม้วนใบ หนอนม้วนใบถั่ว • มะลิ: หนอนเจาะดอกมะลิ

  9. วิธีใช้ 1. ใช้ผลแก่(สดหรือตากแห้ง/เฉพาะเมล็ดในหรือเมล็ดใน+เนื้อ+เปลือก) ผลสะเดา 1 กก. บดป่นแช่น้ำ 20 ลิตร นาน 24 ชม. ได้หัวเชื้อ อัตราใช้ หัวเชื้อ 50-100 ซีซี./น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วทรงพุ่มทุก 3-5 วัน

  10. 2. เมล็ดสะเดาบดละเอียดอัตรา 20 กิโลกรัม/ไร่ (หว่านรอบต้นในอัตรา 2.5 กรัม/ต้น) สามารถที่จะกำจัดตัวอ่อนของด้วงหมัดผักที่อาศัยอยู่ในดินได้ดี

  11. สาบเสือ

  12. การป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืชการป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช • กำจัดเพลี้ยอ่อน ไล่หนอนใยผัก หนอนกระทู้ผักและแมลงศัตรูในโรงเก็บ • ป้องกันกำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราและแบคทีเรีย

  13. สารสำคัญในสาบเสือ สาระสำคัญ:พีนีน คูมารินเนบโธควิโนน ลิโมนีน ยูพาทอลลูพีออลฟาโวน คาไดอีน แคมเฟอร์ ประสิทธิภาพ: เป็นสารไล่แมลงศัตรูพืชชนิดต่างๆ

  14. วิธีใช้ 1)ต้นและใบ  ผึ่งลมให้แห้ง บดเป็นผง แช่น้ำ 400 กรัม/น้ำ 3 ลิตร ถ้าใบอย่างเดียวใช้ 400 กรัม/น้ำ 8 ลิตร กวนตั้งทิ้งไว้ค้างคืน กรองเอากากออก นำมาฉีดพ่นทุก 7 วัน ป้องกันและไล่หนอนกระทู้ผัก หนอนใยผัก

  15. วิธีใช้ 2)หมักด้วยเหล้าขาว 24 ชั่วโมง (500 กรัม/เหล้า 1 ลิตร)  หมักค้างคืน  กรองออกมาใช้ป้องกันกำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา และแบคทีเรีย และหนอนใยผัก

  16. วิธีใช้ 3)ใบสด 10 กรัมผสมกับใบแห้ง 30 กรัม บดให้ละเอียด แล้วนำมาคลุกถั่วเขียว 100 กรัม สามารถป้องกันกำจัดด้วงถั่วเขียว และมอดข้าวสาร

  17. หนอนตายหยาก

  18. สารสำคัญ รากหนอนตายหยาก  ประกอบด้วยสารกลุ่ม อัลคาลอยด์เป็นส่วนใหญ่ นอกจากนี้ยังพบสารประกอบไบเบนซิล สติลบีนอยด์ และสารกลุ่มโรตินอยด์

  19. การป้องกันและกำจัดแมลงการป้องกันและกำจัดแมลง • กำจัดเห็บในวัวควาย กำจัดหนอนแมลงวัน • ป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช ยับยั้งการกิน ของหนอนกระทู้ผัก • มีความเป็นพิษต่อลูกน้ำยุง

  20. วิธีใช้ 1)รากหนอนตายหยากสับเป็นชิ้นเล็กๆ ปริมาณ 1 กิโลกรัม  ผสมน้ำ 20 ลิตร กวน หมักไว้ค้างคืน กรองเอาน้ำไปฉีดพ่นพืชผักทันที ฉีดพ่นทุก 3-5 วัน ใช้น้ำให้หมดทุกครั้ง ไม่ควรเก็บไว้เพราะราจะขึ้น

  21. วิธีใช้ 2)สกัดด้วยแอลกอฮอล์  โดยใช้ราก 100 กรัมต่อแอลกอฮอล์ 1 ลิตร หมักทิ้งไว้ 1 อาทิตย์  กวนบ่อยๆ กรองเอากากออก เมื่อจะนำมาใช้ให้เจือจางด้วยน้ำ (สารสกัด 15-20 ซีซี ต่อน้ำ 10 ลิตร) แล้วนำไปฉีดพ่นพืชทุก 3-5 วัน

  22. ขมิ้นชัน

  23. สารสำคัญในขมิ้นชัน สาระสำคัญในขมิ้นชัน  คือ เคอร์คูมิน  เอทร์มาโรน  ซิงจิเบอรีนพีนีน  ฟิแลนดรีน บอร์นีออล และซินิออล

  24. การป้องกันและกำจัดแมลงการป้องกันและกำจัดแมลง • ป้องกันกำจัดหนอนใยผัก หนอนกระทู้หอม หนอนกระทู้ผัก และแมลงศัตรูในโรงเก็บ   • กำจัดลูกน้ำยุง • ป้องกันกำจัดโรคพืชที่เกิดจากแบคทีเรีย และเชื้อรา

  25. วิธีใช้ 1)ใช้ผลขมิ้นชันครึ่งกิโลกรัมหมักกับน้ำ 2 ลิตร ทิ้งไว้ 1 คืน คั้นเอาแต่น้ำ ใช้อัตรา 400 ซีซี ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นในแปลงผักกวางตุ้งขนาด 4x5 ตารางเมตร สามารถไล่แมลงศัตรูพืชพวกหนอนใยผัก หนอนหลอดหอม หนอนกระทู้ผัก ได้ดี

  26. วิธีใช้  2)แง่งขมิ้นชันครึ่งกิโลกรัม ต่อเหล้าขาว 1 ลิตร แช่ค้างคืน กรองเอาน้ำไปฉีดพ่น ป้องกันกำจัดโรคพืชที่เกิดจากแบคทีเรียและเชื้อรา

  27. วิธีใช้ 3)ขมิ้นผงนำมาโรยโคนต้น  หรือคลุกเม็ด  ใช้ไล่แมลง (ผงขมิ้น 10 กรัมต่อเมล็ด 100 กรัม) เช่น มอดข้าวสาร  ด้วงถั่วเขียว  ด้วงงวง มอดข้าวเปลือก มอดแป้ง

  28. ข่า

  29. สารสำคัญ ข่ามีสารสำคัญ ได้แก่ พีนีน ซาฟโรล ยูจินอล ไซมีน เจอรานิออล และลินาลูล สารเหล่านี้มีประสิทธิภาพในการป้องกันกำจัดศัตรูพืช และแมลงศัตรูในโรงเก็บ

  30. วิธีใช้ • ให้นำแง่งข่าที่ผึ่งลมแห้งมาบดละเอียด นำมาโรยโคนต้น หรือคลุกเมล็ด  ใช้ไล่แมลงเหมือนตะไคร้หอม • นำแง่งข่าขนาด 400 กรัมต่อน้ำ 8 ลิตร แช่น้ำไว้ค้างคืน กรองเอาน้ำมาฉีดพ่นไล่แมลง

  31. ตะไคร้หอม

  32. สารสำคัญ สารออกฤทธิ์ที่สำคัญได้แก่ ไซโทรเนเลล ไซโทรเนลอล เจอรานิออลนอกจากนี้ยังมีสารสำคัญอื่นๆ คือ เจอรานิเอล พีนีนลิโมนีน บอร์นีออล คูมาริน

  33. การป้องกันและกำจัดแมลงการป้องกันและกำจัดแมลง • ไล่แมลงศัตรูพืชเช่น หนอนใยผัก เพลี้ยอ่อน เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยไฟ แมลงหวี่ขาวและแมลงในโรงเก็บ • สามารถไล่ยุงและแมลงวัน • กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา และแบคทีเรีย

  34. วิธีใช้ 1)นำใบและต้นผึ่งลมจนแห้ง แล้วบดละเอียด นำมาโรยโคนต้น หรือคลุกเมล็ดธัญพืช ใช้ไล่แมลง

  35. วิธีใช้ 2)ใบตะไคร้หอมบดละเอียด 400 กรัม แช่น้ำ 8 ลิตร ทิ้งไว้ค้างคืน กรองเอากากออกนำมาฉีดพ่น สามารถไล่หนอนไยผัก

  36. วิธีใช้ 3)ตะไคร้หอม 4 กิโลกรัม ผสมสะเดาบด 2 กิโลกรัมต่อน้ำ 75 ลิตร สกัดโดยใช้เครื่องสกัดสารกำจัดศัตรู พืชพลังงานแสงอาทิตย์ 1 วัน โดยใส่เมล็ดสะเดาบด เมื่ออุณหภูมิของน้ำในหม้อต้มต่ำกว่า 50 องศาเซล เซียสเพื่อป้องกันการสลายตัวของสารอาซาไดเรค ติน  รุ่งเช้าไขน้ำออก นำน้ำไปฉีดพ่นไล่แมลง

  37. ยาสูบ

  38. การป้องกันกำจัดศัตรูพืชการป้องกันกำจัดศัตรูพืช • กำจัดแมลงศัตรูพืช: ด้วงหมัดผักกาด มวนหวาน หนอนกอข้าว หนอนกะหล่ำปลี หนอนผักกาด หนอนชอนใบ เพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยแป้ง ไรแดง ไรขาว • กำจัดโรค: ราสนิม ไวรัส โรคใบหงิก เชื้อรา

  39. วิธีใช้ 1. ใช้ต้นสดแก่จัด(แกนกลางมีสารมากที่สุด) และใบสดแก่ บดละเอียดหรือสับเล็ก 1 กก. แช่น้ำ 20 ลิตร นาน 48 ชม. หรือต้มพอเดือดแล้วปล่อยให้เย็น ได้หัวเชื้อ อัตราใช้ หัวเชื้อ 1 ลิตร/น้ำ 20 ลิตร …

  40. วิธีใช้ 2. ใช้ยาเส้นหรือยาฉุน 2 กก. ผสมน้ำ 100 ลิตร คนบ่อยๆ จนน้ำเป็นสีน้ำตาลไหม้ ได้หัวเชื้อ อัตราใช้ หัวเชื้อล้วนๆ ไม่ต้องเจือจางน้ำ …

  41. วิธีใช้ 3. ยาฉุนหรือยาเส้น 1 กก. ผสมน้ำ 2 ลิตร ต้มจนเดือดนาน 30-60 นาที ได้หัวเชื้อ อัตราใช้ หัวเชื้อที่ได้เจือจางน้ำ 60 ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วทรงพุ่มทุก 3-5 วัน

  42. หางไหล

  43. สารสำคัญ โรตีโนน เป็นสารที่มีลักษณะเป็นเกล็ดสีขาวมีพิษ การป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช • เพลี้ยอ่อนบางชนิด หนอนเจาะผัก มวน ด้วงเต่าแตง ด้วงหมัดผัก เพลี้ยจักจั่นมะม่วง หนอนเจาะกะหล่ำปลี และศัตรูพืชผักต่าง ๆ • ฆ่าหมัด เห็บ ไรไก่ ปลวก แมลงวัน เรือด

  44. วิธีใช้ • ใช้รากที่ทุบแล้ว 1 กิโลกรัมต่อน้ำ 1 ปีบ แช่ไว้ 2 วัน สังเกตว่าน้ำที่แช่โล่ติ๊นขุ่นขาว คล้ายน้ำซาวข้าว กรองเอาแต่น้ำ นำไปฉีดแปลงพืชผลในช่วงที่มีแดดอ่อน

  45. พลูป่า

  46. บอระเพ็ด

  47. การป้องกันกำจัดศัตรูพืชการป้องกันกำจัดศัตรูพืช • แมลงศัตรูพืช เพลี้ยกระโดด เพลี้ยจักจั่น หนอนกอ หนอนเจาะยอด หนอนกัดใบ • โรคพืช โรคยอดเหี่ยว โรคข้าวตายพราย โรคเมล็ดข้าวลีบ

  48. วิธีใช้ ใช้เถาสดแก่จัดบดป่นหรือสับเล็ก 1 กก. แช่น้ำ 10 ลิตร นาน 24 ชม. ได้หัวเชื้อ อัตราใช้ หัวเชื้อ 30-50 ซีซี./น้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วทรงพุ่มทุก 3-5 วัน

  49. ยี่โถ

  50. การป้องกันกำจัดศัตรูพืชการป้องกันกำจัดศัตรูพืช • ศัตรูพืช เช่น ด้วงหรือมอดทำลายเมล็ดพันธุ์ หนอนกระทู้ผัก หนอนใยผัก หนอนคืบกะหล่ำ หนอนหลอดหอม หนอนหนังเหนียว หนอนม้วนใบ หนอนกัดใบ หนอนเจาะยอดเจาะดอก

More Related