1 / 25

การเขียนโครงร่างวิจัย

การเขียนโครงร่างวิจัย . พญ . หทัยทิพย์ ธรรมวิริยะกุล เวชกรรมสังคม โรงพยาบาลหาดใหญ่ . ทำไมต้องวางแผน . การวางแผน. ความพยายามที่เป็นระบบ เพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด สำหรับอนาคต … เพื่อให้บรรลุผลที่ปารถนา. วางแผนอย่างไร. 5W1H . วางแผนวิจัยดี. วิจัยเริ่มด้วยคำถาม

laurie
Download Presentation

การเขียนโครงร่างวิจัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเขียนโครงร่างวิจัย พญ.หทัยทิพย์ ธรรมวิริยะกุล เวชกรรมสังคม โรงพยาบาลหาดใหญ่

  2. ทำไมต้องวางแผน

  3. การวางแผน ความพยายามที่เป็นระบบ เพื่อตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด สำหรับอนาคต… เพื่อให้บรรลุผลที่ปารถนา

  4. วางแผนอย่างไร 5W1H

  5. วางแผนวิจัยดี • วิจัยเริ่มด้วยคำถาม • หาข้อมูลที่มีอยู่ เพื่อทำใหม่ให้ดีขึ้น หรือ หาคำตอบใหม่ๆ • ตั้งเป้าหมายให้กระชับ • เป็นไปได้ • นึกถึงประโยชน์ ต่อ องค์กร วิชาชีพ ผู้ป่วย • ออกแบบ when where what who how • ตัวแปรที่สนใจ/ผลลัพธ์ที่สนใจ

  6. วางแผนวิจัยดี

  7. สนับสนุนให้วางแผนสำเร็จสนับสนุนให้วางแผนสำเร็จ

  8. เริ่มต้น R2R ที่… ตัวเรา เพื่อนร่วมงาน ตั้งคำถามวิจัย ค้นหาความรู้ที่มีอยู่ เพื่อต่อยอด

  9. กระบวนการทำงานวิจัย R2R

  10. องค์ประกอบของโครงร่างวิจัย • ชื่อโครงการ • ต้องเป็นชื่อที่สั้น กระชับ แต่สื่อความหมายได้ดี • วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย • วัตถุประสงค์หลัก (Primary Objective) :เป็นเป้าหมายสำคัญของโครงการ ซึ่งควรจะมีวัตถุประสงค์นี้เพียงประการเดียว • วัตถุประสงค์รอง (Secondary Objectives) :เป็นเป้าหมายของโครงการแต่มีความสำคัญน้อยกว่าวัตถุประสงค์หลัก อาจจะมีหลายประการได้

  11. Example ชื่อโครงการ

  12. Example ผลการใช้น้ำขิงในการลดอาการท้องอืดหลังส่องกล้องลำไส้ใหญ่

  13. องค์ประกอบของโครงร่างวิจัย(ต่อ)องค์ประกอบของโครงร่างวิจัย(ต่อ) ระเบียบวิธีวิจัย • รูปแบบการวิจัย (Research design) • ประชากรที่ศึกษา (Study Population) • แหล่งที่มาของประชากร (Source) • การรวบรวมประชากรที่ศึกษา (Method of Recruitment) • สถานที่ ระบุสถานที่ที่จะเข้าถึงผู้ที่จะเข้าร่วมการวิจัย • กระบวนการ ใครเป็นผู้เชิญชวนอาสาสมัคร จะเชิญชวนอย่างไร • เกณฑ์การคัดเลือกประชากรที่ศึกษา(Selection Criteria) ทั้งเกณฑ์รับเข้าศึกษา (Inclusion Criteria) และเกณฑ์ไม่รับเข้าในการศึกษา (Exclusion Criteria)

  14. องค์ประกอบของโครงร่างวิจัย(ต่อ)องค์ประกอบของโครงร่างวิจัย(ต่อ) ระเบียบวิธีวิจัย (ต่อ) • การสุ่มตัวอย่าง • การศึกษาเชิงทดลองระบุวิธีการแบ่งกลุ่มประชากรที่ศึกษา(Allocation of Study Population) • การศึกษาเชิงพรรณนา ระบุวิธีสุ่มตัวอย่าง • จำนวนประชากรที่ต้องการจะศึกษา(Sample Size) เบื้องต้นให้ประมาณจากความเป็นไปได้ก่อนว่าในเวชปฏิบัติมีอยู่ประมาณกี่คน เช่น มีผู้ป่วยประมาณกี่คน ต่อสัปดาห์หรือต่อเดือน หรือต่อปี(informal) • ขั้นตอนการศึกษา(Study Procedures) รายละเอียดของการศึกษาตามลำดับที่จะปฏิบัติ ให้เขียนเป็นแผนภาพ

  15. Example ผลการใช้น้ำขิงและการกดจุดในผู้ป่วยที่มีภาวะแพ้ท้องรุนแรง (Hyperemesis)ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ นางละมุล คงเพชร / จนท. หอผู้ป่วยนรีเวช 340 โรงพยาบาล หาดใหญ่ (074-273100ต่อ1340)

  16. Example • เพื่อเปรียบเทียบ • ระดับความรุนแรงของการคลื่นไส้อาเจียน • ระยะวันนอน • อัตราการRe-admission ของการรักษาโดยการกดจุด ดื่มน้ำขิง ร่วมกับการแพทย์แผนปัจจุบัน กับ การใช้แพทย์แผนปัจจุบันเพียงอย่างเดียว

  17. Example • Randomize control trial, unblinded • Concealment method: sealed non- transparent enveloped • ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง • หญิงตั้งครรภ์ที่มีอาการแพ้ท้องอายุครรภ์ ≥4 สัปดาห์จำนวน 46 คน • ระยะเวลาศึกษาเดือน ตุลาคม 2552 - กรกฏาคม 2553 • เกณฑ์คัดเข้า : • ผู้ป่วยฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลหาดใหญ่และมีอายุครรภ์ ≥4 สัปดาห์ • ไม่มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ไทรอยด์ โรคไต กระเพาะปัสสาวะอักเสบ • เกณฑ์คัดออก:ผู้พิการ และชาวต่างชาติ

  18. Example คัดเลือกประชากร น้ำขิง +กดจุด +การรักษาแผนปัจจุปัน (n=23) การรักษาแผนปัจจุปันอย่างเดียว(n=23) แบ่งกลุ่ม จำหน่ายจากโรงพยาบาล (n= 23) จำหน่ายจากโรงพยาบาล (n= 23) ติดตาม ความรุนแรงการคลื่นใส้ระยะวันนอน อัตราการ Re-admission n=23 ความรุนแรงการคลื่นใส้ระยะวันนอน อัตราการ Re-admission n=23 วิเคราะห์

  19. องค์ประกอบของโครงร่างวิจัย(ต่อ)องค์ประกอบของโครงร่างวิจัย(ต่อ) • การวัดผลลัพธ์และการเก็บข้อมูล • ระบุผลลัพธ์หลัก และผลลัพธ์รอง • ภาพกรอบแนวคิดวิจัย ไม่เกิน 1หน้ากระดาษ A4 • Dummy Tables (Tableคร่าวๆ ที่จะใส่ในผลวิจัย) • แผนการดำเนินการ (Gang chart) • Budget

  20. Example • การวัด และ การเก็บข้อมูล • แบบ Record form ,NVIS • ผลลัพธ์ : • ระดับความรุนแรงคลื่นไส้อาเจียน • ระยะวันนอน • อัตราการRe-admission • สถิติเชิงพรรณนาใช้ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ • เปรียบเทียบความสัมพันธ์ใช้ • Chi2,t-test และ Wilcoxon signed-ranks test

  21. Example

  22. Example ตารางที่ 1 ลักษณะของกลุ่มตัวอย่าง Dummy Table

  23. Example ตารางที่ 2 เปรียบเทียบระยะเวลานอนโรงพยาบาลก่อนและหลังการทดลองในกลุ่มที่ได้รับน้ำขิง กดจุดและรักษาแผนปัจจุบันเทียบกับรักษาแผนปัจจุบันอย่างเดียว ** t-test *Wilcoxon ranksum test Dummy Table

  24. Example Gang chart

  25. บทสรุป • วางแผนวิจัยดี ก็เหมือนทำวิจัยเสร็จไปแล้วครึ่งหนึ่ง • เริ่มต้นที่คำถามวิจัย แล้วไล่ไปตามกระบวนการ • เขียนวัตถุประสงค์ให้กระชับและสั้น • เขียนประโยชน์ไว้เตือนใจ ให้อยากทำต่อไปง • เขียนวิธีการวิจัยให้ เหมือนสูตรอาหาร • เขียนสิ่งต้องการวัด เพื่อเตรียมเครื่องมือให้มีคุณภาพ • เขียน ด้วย ภาพ ตาราง และเขียน ด้วยใจ

More Related