1 / 32

การควบคุมภายใน

การควบคุมภายใน. ตามระเบียบ คตง.ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 บรรยายโดย นายณรงค์ ศรีมาธรณ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนกุดเสลาวิทยาคม. มีผลบังคับใช้ 27 ตุลาคม 2544 กำหนดรายงานครั้งแรกภายใน 31 ธันวาคม 2547 รายงานครั้งต่อไป ภายใน 90 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ ของทุกปี.

laurent
Download Presentation

การควบคุมภายใน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การควบคุมภายใน ตามระเบียบ คตง.ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 บรรยายโดย นายณรงค์ ศรีมาธรณ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนกุดเสลาวิทยาคม

  2. มีผลบังคับใช้ 27 ตุลาคม 2544 กำหนดรายงานครั้งแรกภายใน 31 ธันวาคม 2547 รายงานครั้งต่อไป ภายใน 90 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ ของทุกปี

  3. ความหมายวัตถุประสงค์ และแนวคิด

  4. หมายถึง กระบวนการที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหารและบุคลากรหน่วยรับตรวจกำหนดให้มีขึ้นเพื่อความมั่นใจจะบรรลุวัตถุประสงค์ดังนี้ • ประสิทธิภาพและประสิทธิ ผลการดำเนิน งาน • ความเชื่อถือได้ของการรายงานทางการเงิน • การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง

  5. แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายในแนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน 1. แทรกหรือแฝงอยู่ในการปฏิบัติงานตามปกติ 2. เกิดขึ้นได้โดยบุคลากรในหน่วยรับตรวจ 3. ให้ความมั่นใจจะบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด

  6. ความจำเป็นและที่มา • พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ.2542 • ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544

  7. วัตถุประสงค์การควบคุมภายใน (OFC) • ด้านการดำเนินงาน (Operation = O) มุ่งให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล รวมถึงการดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกันความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การทุจริต • ด้านการรายงานทางการเงิน (Financial Reportings =F) • ด้านการปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ และนโยบาย (Compliance with Applicable Laws and regulations = C)

  8. องค์ประกอบของการควบคุมภายในองค์ประกอบของการควบคุมภายใน • สภาพแวดล้อมของการควบคุม • การประเมินความเสี่ยง • กิจกรรมการควบคุม • สารสนเทศและการสื่อสาร • การติดตามประเมินผล

  9. 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม หมายถึง ปัจจัย และสภาวะต่างๆ ที่ส่งผลต่อทัศนคติ และการตระหนักถึงความจำเป็นและความสำคัญของการควบคุมภายในของบุคลากรในหน่วยงาน สภาพแวดล้อมการควบคุมเป็นรากฐานสำคัญขององค์ประกอบอื่นของการควบคุม

  10. 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม (ต่อ) แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. การควบคุมโดยการสร้างจิตสำนึกและคุณภาพที่มองเห็นไม่ได้ เช่น ความชื่อสัตย์ ความโปร่งใส การมีผู้นำดี ความมีจริยธรรม (Soft Control) 2. การควบคุมโดยกำหนดโครงสร้าง นโยบาย และระเบียบวิธีปฏิบัติ (Hard Control)

  11. 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม (ต่อ) มีความรับผิดชอบเข้าใจขอบเขตอำนาจหน้าที่ของตน ความซื่อสัตย์และจริยธรรม รูปแบบและปรัชญาการ ทำงานของฝ่ายบริหาร มีความรู้ความสามารถและทักษะที่จำเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน บุคลากร ทุกระดับ ความรู้ความสามารถและทักษะของบุคลากร ยอมรับและปฏิบัติตามนโยบาย แนวทางปฏิบัติงาน ข้อกำหนดด้านจริยธรรม โครงสร้างการจัดองค์กร นโยบายและการบริหาร ทรัพยากรบุคล

  12. 2. การประเมินความเสี่ยง ความเสี่ยง: โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด การประเมินความเสี่ยง: กระบวนการที่ใช้ในการระบุและวิเคราะห์ความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน รวมทั้งการกำหนดแนวทางที่จำเป็นต้องใช้ในการควบคุมความเสี่ยงหรือการบริหารความเสี่ยง

  13. 2. การประเมินความเสี่ยง (ต่อ) ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง - ศึกษาทำความเข้าใจวัตถุประสงค์องค์กร - การระบุความเสี่ยง - การวิเคราะห์ความเสี่ยง - การบริหารความเสี่ยง

  14. 3. กิจกรรมการควบคุม หมายถึง นโยบายและวิธีการต่างๆ ที่ฝ่ายบริหารกำหนดให้บุคลากรปฏิบัติเพื่อลดหรือควบคุมความเสี่ยง และได้รับการสนองตอบโดยมีการปฏิบัติตาม - ควรแฝง/แทรกอยู่ในกระบวนทำงานปกติ - สามารถลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับยอมรับได้ - ต้นทุนคุ้มกับผลประโยชน์ - เพียงพอเหมาะสม ไม่มากเกินความจำเป็น - มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะ

  15. 4. สารสนเทศและการสื่อสาร สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานขององค์กร ทั้งที่ได้รับจากแหล่งภายในหรือภายนอกองค์กร การสื่อสารหมายถึง การับ – ส่ง สารสนเทศในการบริหารและการปฏิบัติงานระหว่างบุคคลที่รับผิดชอบในการสัมพันธ์กัน

  16. 5. การติดตามประเมินผล หมายถึง กระบวนการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานและการประเมินประสิทธิผลของการควบคุมภายในที่วางไว้อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอซึ่งประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย • การติดตามผลในระหว่างการปฏิบัติงาน • การประเมินผลเป็นรายครั้ง • การประเมินการควบคุมด้วยตนเอง (Control Self Assessment) • การประเมินการควบคุมอย่างเป็นอิสระ (Independent Assessment)

  17. การวางระบบการควบคุมภายในการวางระบบการควบคุมภายใน • กำหนดทีมรับผิดชอบ • ทบทวนภารกิจ หน้าที่ วัตถุประสงค์ และเป้าหมายขององค์กร • พิจารณากิจกรรม งาน/โครงการสำคัญที่อาจมีปัญหา • ประเมินความเสี่ยง เพื่อปรับปรุงการควบคุม

  18. การประเมินความเสี่ยง • สอบทานวัตถุประสงค์ของกิจกรรม งาน/โครงการ • ระบุความเสี่ยง • วิเคราะห์ความเสี่ยง • บริหารความเสี่ยง

  19. สาระสำคัญของการรายงานตามระเบียบ ค.ต.ง. ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐาน การควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 5 และ ข้อ 6

  20. ข้อ 5. หน่วยรับตรวจจัดวางระบบการควบคุมภายในให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี นับจากวันที่ระเบียบมีผลบังคับใช้ (27 ต.ค. 2544) ประกอบด้วยข้อมูล 5 ด้านดังนี้

  21. ข้อ 5 (ต่อ) • ภารกิจ/วัตถุประสงค์ระดับหน่วยรับตรวจ • ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมการควบคุม • ความเสี่ยงที่สำคัญที่มีผลกระทบวัตถุประสงค์ • กิจกรรมควบคุม/ป้องกันเพื่อลดความเสี่ยง • ผู้รับผิดชอบและวิธีการประเมินผล * ต้องจัดวางระบบให้เสร็จภายใน 31 ต.ค. 2545

  22. หน่วยรับตรวจ ต้องรายงานความคืบหน้าในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน ต่อผู้กำกับดูแล และคณะกรรมการตรวจสอบของหน่วยรับตรวจ ทุก 60 วัน พร้อมทั้งส่งสำเนาให้ ส.ต.ง.

  23. การรายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6 ครั้งแรกภายใน 240 วัน หลังจากวางระบบเสร็จ ครั้งต่อไป รายงานปีละครั้งภายใน 90 วัน เมื่อสิ้นปีงบประมาณ

  24. ประเด็นการประเมินการควบคุมภายในประเด็นการประเมินการควบคุมภายใน • การควบคุมภายในที่กำหนดไว้เพียงพอ เหมาะสม และมีการปฏิบัติจริง • ข้อตรวจพบจากการตรวจสอบ และสอบทานอื่นๆ ได้รับการปรับปรุงแก้ไขอย่างเหมาะสมและทันเวลา • การควบคุมภายในได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป

  25. ขั้นตอนการติดตามประเมินผลขั้นตอนการติดตามประเมินผล ขั้นตอนที่ 1 ติดตามผลการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน (ปย.2-1) สรุปผลการประเมินองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน (ปย.2)

  26. ขั้นตอนที่ 2 ประเมินองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน แผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ปย.3) ของงวดก่อน รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ติดตาม ปย.3)

  27. ขั้นตอนที่ 3 ประเมินการควบคุมภายในตามกิจกรรมแต่ละด้านหรือกิจกรรมเฉพาะของหน่วยงาน แบบสอบถามการควบคุมภายใน (ต.ย. ตามภาคผนวก ง) สรุปจุดอ่อนจากการประเมิน

  28. สรุปผลการประเมินองค์ประกอบการควบคุมฯ (ปย.2) รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงฯ(ติดตามปย.3) สรุปจุดอ่อนจากการประเมิน ขั้นตอนที่ 4 พิจารณาความเพียงพอและเหมาะสมของการควบคุมภายในและจัดทำความเห็นเกี่ยวกับการควบคุมภายใน การประเมินการควบคุมภายใน (แบบ ปม.) รายงานความเห็นเกี่ยวกับการควบคุมภายใน (ปย.1) แผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ปย.3)

  29. การรายงานตามระเบียบฯ ข้อ 6

  30. การจัดทำรายงานส่ง สพฐ. สพฐ. ผอ.สพท. จนท.อาวุโส ประมวลผลภาพรวม กลุ่มอำนวยการ ร.ร. กลุ่มบริหารงานบุคคล ตสน. กลุ่มส่งเสริมจัดการศึกษา กลุ่มนโยบายและแผน การศึกษาเอกชน กลุ่มนิเทศ

  31. ความรับผิดชอบของหน่วยรับตรวจที่ต้องปฏิบัติตามระเบียบฯความรับผิดชอบของหน่วยรับตรวจที่ต้องปฏิบัติตามระเบียบฯ ข้อ 7 หน่วยรับตรวจไม่สามารถปฏิบัติได้ให้ตกลงกับ คตง. ข้อ 8 การเจตนาปล่อยปะละเลยในการปฏิบัติตามระเบียบนี้ โดยไม่มีเหตุอันควร คตง.ตั้งข้อสังเกตและรายงาน ตามลำดับขั้น อาจมีผลการพิจารณางบประมาณ

  32. สวัสดี

More Related