260 likes | 352 Views
การบริหารจัดการสมัยใหม่. Management Challenges for the 21st Century. การจัดการแบบเดิม. การจัดการแบบ Mass Production มีโรงงานอุตสาหกรรมเป็นหัวใจสำคัญ ผู้บริหารในระบบเศรษฐกิจแบบเก่า (Old-economy) มุ่งมั่นอยู่กับการจัดการธุรกิจของตนในแบบเดิมๆ การลดต้นทุน การออกสินค้าใหม่ การควบคุมกิจการ
E N D
การบริหารจัดการสมัยใหม่การบริหารจัดการสมัยใหม่ Management Challenges for the 21st Century
การจัดการแบบเดิม • การจัดการแบบ Mass Production • มีโรงงานอุตสาหกรรมเป็นหัวใจสำคัญ • ผู้บริหารในระบบเศรษฐกิจแบบเก่า (Old-economy) • มุ่งมั่นอยู่กับการจัดการธุรกิจของตนในแบบเดิมๆ • การลดต้นทุน การออกสินค้าใหม่ การควบคุมกิจการ • เริ่มสงสัยถึงความชำนาญที่แท้จริง
กระบวนทัศน์การจัดการใหม่กระบวนทัศน์การจัดการใหม่ • วงการธุรกิจเกิดการเปลี่ยนแปลงแบบพลิกฟ้าคว่ำแผ่นดิน • การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและการสื่อสาร • ตลาดทุนสมัยใหม่ • “ลูกค้า” คือ พระเจ้า
กระบวนทัศน์เชิงกลยุทธ์กระบวนทัศน์เชิงกลยุทธ์ • สังคมเครือข่าย • Focus,Syndication และ Outsourcing • Controlเฉพาะ Brand • Core Competency
ยุคของDigital Revolution • ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงโครงสร้าง • กระบวนทัศน์เชิงกลยุทธ์ต้องเปลี่ยนแปลงตาม • การสื่อสารภายในและภายนอกมีอินเตอร์เน็ตเป็นแกนกลาง • เกิดการกระจายตัวของพนักงานเป็นแบบ Time Zone • มีพนักงานประเภท Knowledge Workerมากขึ้น • ตลาดมีการรองรับการแข่งขันแนวใหม่
Internet • การเปลี่ยนแปลงแบบก้าวกระโดด • เป็น Market Place • เป็นระบบสารสนเทศที่ทำให้เกิดสินค้าและบริการ • มีความยืดหยุ่นสูง • ใช้ในการแสวงหา Suppliers,ประสานงานโครงการ, จัดเก็บและบริหารข้อมูลลูกค้า
ประโยชน์ของ Internet • ต้นทุนในการจัดการและรับส่งข่าวสารลดลงมาก • สามารถส่งข่าวสารกับ Suppliersได้ดีขึ้น • ลดปริมาณสินค้าคงคลัง • เพิ่มประสิทธิภาพการประสานงาน • ประหยัดค่าใช้จ่ายทางด้านเอกสาร • สามารถติดต่อลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว • เพิ่มประสิทธิภาพทางด้านพนักงาน
ปรากฏการณ์ตู้ปลา (Fishbowl Effect) • การบริหารจัดการเปิดกว้างขึ้น • ข้อมูลทุกอย่างเกี่ยวกับกิจการเหมือนถูกออกอากาศไปสู่พนักงาน ตลอดจนลูกค้า • การตั้งราคาต้องโปร่งใส • ลูกค้าติดตามความก้าวหน้าของคำสั่งซื้อได้ • Suppliersสามารถดึงข้อมูลได้โดยตรง • พนักงานทราบว่าเขาจะได้รับตอบแทนอย่างไรจากที่อื่น
มาตรฐานของ Internet • มาตรฐานของ Software • มาตรฐานของ E-commerce • โปรแกรม XML • เกิดการรวมศูนย์ขึ้นในบริษัท
สื่อสารและสร้างวัฒนธรรมองค์กรผ่านเน็ตสื่อสารและสร้างวัฒนธรรมองค์กรผ่านเน็ต • ช่องทางในการสื่อสาร ด้วยการส่งข้อความหรือแนบ • เพื่อรวมพนักงานเข้าไว้ด้วยกัน • ให้พนักงานเห็นความสำคัญขององค์การ • สอนแนวทางที่เหมาะสมให้เผชิญหน้ากับปัญหา
ช่องทางในการสื่อสาร • อินเตอร์เน็ต • อินทราเน็ต(B2E) • เว็บไซต์ • E-mail
E-personnel • ลดค่าใช้จ่ายด้านพนักงาน • สรรหาผ่านระบบอีเล็กทรอนิกส์ • การฝึกอบรมออนไลน์ • ช่วยตอบคำถามให้พนักงาน • ระบบเบิกค่าใช้จ่ายของพนักงาน
ประสานงานผ่านเน็ต • Co-ordinate ภายในและภายนอก • การจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management) คือการติดต่อสื่อสารกันอย่างมีประสิทธิภาพระหว่างผู้ที่รู้ข้อมูลกับผู้ที่ต้องการรู้ • ความร่วมมือช่วยสร้างทีมในลักษณะ Global Team โดยที่อยู่หนใดก็ร่วมกันได้
Good e-management • เร็ว • คนคุณภาพ • เปิดกว้าง • มีทักษะในการทำงานร่วมกัน • มีวินัย
Good e-management • สื่อสารกับผู้อื่นได้ดี • มีทักษะในการจัดการด้าน Content • พุ่งความสนใจไปที่ลูกค้า • จุดการกับองค์ความรู้ • “นำ” โดย “ทำ” ให้ดู
Six Sigma • การวิเคราะห์ถึงต้นเหตุแห่งกำไร ด้วยการพิจารณาถึงคุณภาพสินค้าที่ดีที่ทำให้ลูกค้าพึงพอใจ รวมทั้งกระบวนการผลิตที่ลดของเสีย และลดการสิ้นเปลืองทรัพยากรของบริษัท
ประโยชน์ของSix Sigma • ช่วยเพิ่มคุณภาพสินค้า เพิ่มกำไรให้บริษัทและลดการสิ้นเปลือง • ช่วยปรับปรุงนิยามของคำว่า “มาตรฐานสินค้า” ให้ดีขึ้น • ช่วยให้เห็นความสำคัญของกระบวนการผลิตในทุกขั้นตอน
กลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องกับ Six Sigma • กลุ่มผู้บริหารระดับสูง • กลุ่มผู้บริหาร • กลุ่ม Master Black Belts • กลุ่ม Black Belts • กลุ่มGreen Belts • กลุ่มลูกค้า
ขั้นตอนของกลยุทธ์ Six Sigma • จำแนกแยกแยะระบบงาน • การพิจารณาลักษณะของระบบงาน • การทำให้ระบบงานมีความสมบูรณ์แบบมากที่สุด • การสร้างมาตรฐานให้กับระบบงาน
การนำกลยุทธ์ Six Sigmaมาใช้ • การนำมาใช้ในระดับ Business • การนำมาใช้ในระดับ Operation • การนำมาใช้ในระดับ Process
การสร้าง Good Governance • ธรรมรัฐแห่งชาติ • ธรรมาธิบาล • หลักการบริหารอันเป็นสากล • การกำกับดูแลที่ดี
Good Governance • การใช้สิทธิของ “ความเป็นเจ้าของ” ที่จะปกป้องดูแลผลประโยชน์ของตนเอง โดยผ่านกลไกที่เกี่ยวข้องในการบริหาร • การกำกับดูแลที่ดีในภาครัฐและภาคเอกชน • ภาครัฐ ผู้เป็นเจ้าของก็คือ “ประชาชน” • ภาคเอกชน ผู้เป็นเจ้าของก็คือ “ผู้ถือหุ้น”
กรณี “ภาครัฐ” • ประชาชน ซึ่งใช้สิทธิของตนผ่านการเลือกตั้งใน เขตการเลือกตั้ง ขณะที่ผู้ได้รับการเลือกตั้งก็เข้าไปทำหน้าที่ในรัฐสภา เพื่อกำกับดูแลผู้บริหารประเทศคือ รัฐบาล ให้บริหารประเทศไปในทางที่ถูกต้อง และสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน
กรณี “ภาคเอกชน” • ผู้ถือหุ้น ซึ่งใช้สิทธิของตนในการเลือก คณะกรรมการบริษัท เพื่อเข้าไปกำหนดนโยบาย คัดเลือกและกำกับดูแลผู้บริหาร ให้บริหารงานเพื่อเพิ่มมูลค่าของกิจการนั้น ๆ ให้สูงยิ่งขึ้น ตามเจตนารมณ์ของผู้ถือหุ้น
การสร้าง Good Governance • คณะกรรมการและผู้บริหารระดับสูง ต้องเริ่มต้นด้วยการทำความเข้าใจแนวคิดและสาระสำคัญของ GoodCorporate Governanceอย่างลึกซึ้งเพียงพอเสียก่อน • คณะกรรมการและผู้บริหารระดับสูงควรทบทวน กระบวนการกำกับดูแล ที่เป็นอยู่ในปัจจุบันของตนว่า มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีความโปร่งใสเพียงใด • ผู้บริหารค้นพบรูปแบบ กระบวนการกำกับดูแลที่ดีขึ้นกว่าเดิม เมื่อพบแล้วก็ออกเป็นประกาศหรือข้อกำหนดเพื่อปฏิบัติในองค์กร
สิ่งสำคัญของ “Good Governance” • สิ่งที่ต้องสร้างให้เกิดขึ้นภายใต้กรอบของ Good Governanceก็คือ • ความโปร่งใส • ความยุติธรรม • ความรับผิดชอบในผลของการตัดสินใจ