140 likes | 227 Views
๒ ปี. แห่งการพัฒนาบริการปฐมภูมิ. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔. เป้าหมาย ประชาชนมีสุขภาพดี และสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้. ๑ . เพิ่มศักยภาพและขยายบริการปฐมภูมิ ฯ. ๕ . สนับสนุนการวิจัย และพัฒนา. ๔ . สร้างการยอมรับคุณค่า ศักดิ์ศรี และเอกลักษณ์.
E N D
๒ ปี ... แห่งการพัฒนาบริการปฐมภูมิ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔ เป้าหมาย ประชาชนมีสุขภาพดี และสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ ๑ .เพิ่มศักยภาพและขยายบริการปฐมภูมิ ฯ ๕. สนับสนุนการวิจัย และพัฒนา ๔.สร้างการยอมรับคุณค่า ศักดิ์ศรี และเอกลักษณ์ ๓. ปรับปรุงระบบการผลิต พัฒนา และระบบ บริหารจัดการบุคลากร ๒. ปรับปรุงการบริหารจัดการ
งบลงทุนเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิงบลงทุนเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ • ปี ๒๕๔๙ = ๑,๐๖๒ ลบ. • ปี ๒๕๕๐ = ๑,๐๙๔ ลบ. • ปี ๒๕๕๑ = ๑,๐๐๒ ลบ.
PRODUCTIVITY ปี ๒๕๔๙ -๒๕๕๐
ยุทธศาสตร์ที่1 เพิ่มศักยภาพและขยายบริการปฐมภูมิ ให้เข้าถึงชุมชน โดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน อย่างสอดคล้องกับบริบท ยุทธศาสตร์ที่2 ปรับปรุงการบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนระบบบริการปฐมภูมิอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบติดตาม ประเมินผลระดับจังหวัดและเขตพื้นที่ CMU Tract A ๘๙ แห่ง Tract B ๑๒๘ แห่ง Tract C ๙ จังหวัด ระบบการเงินการคลังเพื่อประเมินประสิทธิภาพ ครุภัณฑ์ปฐมภูมิทุกจังหวัด ๔๐๐ลบ. บริการประทับใจ ไร้แออัด พัฒนาเครือข่าย ๑๓ แห่ง แพร่ พิษณุโลก นครสวรรค์ อยุธยา ราชบุรี ฉะเชิงเทรา นครราชสีมา ศรีษะเกษ ร้อยเอ็ด กาฬสินธ์ นครศรีธรรมราช(๒แห่ง) สงขลา พัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิ(จังหวัดต้นแบบ) ๑๓จังหวัด
การพัฒนาหลักสูตร ยุทธศาสตร์ที่3 ปรับปรุงระบบการผลิต พัฒนา และระบบบริหารจัดการบุคลากร • หลักสูตรแพทยศาสตร์แนวใหม่ แพทย์FMแนวใหม่และ In-service training • สาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต ๒ หลักสูตร • พยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไปและเวชปฏิบัติครอบครัว ๒ หลักสูตร • เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิ ๓ หลักสูตร • CUP Manager และ District Health Manager ๒หลักสูตร • สาธารณสุขครอบครัว ๑หลักสูตร • หลักสูตรเชิงสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ๒ หลักสูตร • หลักสูตรบูรณาการงานทันตสาธารณสุขและเวชศาสตร์ครอบครัว ๑ หลักสูตร • หลักสูตรระยะสั้นสำหรับผู้ปฏิบัติงานปฐมภูมิ ๑ หลักสูตร
ยุทธศาสตร์ที่4 สร้างการยอมรับ คุณค่า ศักดิ์ศรี และเอกลักษณ์ระบบบริการปฐมภูมิ ยุทธศาสตร์ที่5 สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาระบบบริการ ปฐมภูมิ สพช. :นวตกรรม การจัดบริการสุขภาพชุมชน 800 แห่ง สวสส. :กระบวนการพัฒนาแนวคิด อุดมการณ์ ฟื้นฟูอุดมคติ มข.(สวรส.อีสาน) , LDI:พัฒนาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สวรส. :วิจัยและพัฒนาการจัดบริการปฐมภูมิ สภาการพยาบาล :พัฒนาหลักสูตรCare givers สวสส. :กระบวนการสร้างแนวร่วมจากวิชาชีพ, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สวสส. :เสริมศักยภาพPCUแก้ปัญหาของชุมชน, รณรงค์ค่านิยมSelf careของประชาชน สื่อสารและประชาสัมพันธ์: เอกลักษณ์และคุณค่า, สร้างการรับรู้คุณค่าการทำงาน, ให้กำลังใจผู้ให้บริการ
การพัฒนารูปแบบการจัดบริการปฐมภูมิการพัฒนารูปแบบการจัดบริการปฐมภูมิ เพื่อเพิ่มคุณภาพบริการและการเข้าถึง • ศูนย์แพทย์ชุมชน (CMU)87 แห่ง • ศูนย์แพทย์ชุมชนระยะเตรียมการ 128 แห่ง • พัฒนาบริการปฐมภูมิในพื้นที่พิเศษ 9 จังหวัด
การฝึกอบรม ประชุมเครือข่าย • อบรมแพทย์ที่ปฏิบัติงานใน CMU จำนวน 173 คน • การจัดประชุมเครือข่ายแพทย์ด้านเวชศาสตร์ครอบครัว • การจัด National Forum เพื่อพัฒนาหลักสูตรแพทย์เพื่อ ปฏิบัติงานปฐมภูมิ
กรอบงบลงทุนพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิกรอบงบลงทุนพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ปี ๒๕๕๑
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิระยะ 3 ปี รพท./รพศปิดWalk-in OPD PCU รับ OP โดยตรงเอง รพช.(CUP) จัดเครือข่าย PCU(FM/NP) Tract A,B/CPCU รับ OP สอ./PCU เพิ่มศักยภาพตามเกณฑ์ (600 ลบ.) (940 ลบ.) (730 ลบ.) จ่าย Incentives โดยเพิ่มงบ P4P ให้กับ PCU ผลิต/พัฒนากำลังคน ระบบส่งต่อ ระบบคุณภาพ บริหารจัดการ/กำกับ/ประเมินผล (100 ลบ.)
“รักษาให้หาย ทำได้บางคราว ช่วยให้ทุเลา ทำได้บ่อยกว่า แต่การปลอบใจให้สบายขึ้นนั้น ทำได้ตลอดกาล” ศ.นพ.ฝน แสงสิงแก้ว
รพท./รพศปิดWalk-in OPD +PCUรับOP (แห่งละ10ลบ.) 15 แห่ง+จว.ที่พร้อม(15แห่ง) 26 แห่ง 26 แห่ง รพ.รับ ผ.ป.นัด ส่งต่อ ฉุกเฉิน ภายใน 1-3 ปี PCUรับOP โดยตรงเอง 160 ลบ. 260 ลบ. 200 ลบ. รพช.(CUP) จัดเครือข่าย PCU(FM/NP) Tract A,B/C 134 (เดิม) + 50 แห่ง 100 แห่ง 100 แห่ง CMU A รับ/บริหารOPเองภายใน 1-2 ปี 1000 แห่ง 1000 แห่ง 110 (เดิม) + 500 แห่ง CMU B พัฒนา เครือข่าย 75 CUP (เดิม) +100 CUP 75 CUP 100 CUP 240 ลบ. 480 ลบ. 330 ลบ. สอ./PCU เพิ่มศักยภาพผ่านเกณฑ์ฯ PCU/สอ.ขนาดใหญ่/สอ.ทั่วไป60% ตามCoverage Plan 80% 80% 200 ลบ. 200 ลบ. 200 ลบ. เป้าหมายการพัฒนาศักยภาพและขยายบริการปฐมภูมิระยะ 3ปี ปี 51 (600 ลบ.) ปี 52 (940 ลบ.) ปี 53 (730 ลบ.)