1 / 16

การดูแลรักษาระบบ ผลิตก๊าซ ชีวภาพ ขนาด 4 ลูกบาศก์เมตร แบบถังโพลีเอ ทิลีน (PE)

การดูแลรักษาระบบ ผลิตก๊าซ ชีวภาพ ขนาด 4 ลูกบาศก์เมตร แบบถังโพลีเอ ทิลีน (PE). ประโยชน์ ของการดูแลรักษาระบบก๊าซชีวภาพ

Download Presentation

การดูแลรักษาระบบ ผลิตก๊าซ ชีวภาพ ขนาด 4 ลูกบาศก์เมตร แบบถังโพลีเอ ทิลีน (PE)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดูแลรักษาระบบผลิตก๊าซชีวภาพการดูแลรักษาระบบผลิตก๊าซชีวภาพ ขนาด 4 ลูกบาศก์เมตร แบบถังโพลีเอทิลีน(PE)

  2. ประโยชน์ของการดูแลรักษาระบบก๊าซชีวภาพ ระบบก๊าซชีวภาพก็เหมือนรถยนต์ โดยปกติที่เราใช้รถยนต์นั้น เราคงไม่เพียงแค่ขับ ใช้งานเพียงอย่างเดียว เราต้องมีการถ่ายน้ำมันเครื่อง เปลี่ยนอะไหล่ ตรวจเช็คสภาพ เป็น ประจำ เพื่อให้รถยนต์สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย ระบบก๊าซ ชีวภาพก็เหมือนกัน ต้องมีการดูแลรักษา องค์ประกอบต่างๆ ในระบบ เพื่อให้การทำงาน ของระบบ การผลิตก๊าซชีวภาพ มีประสิทธิภาพ เมื่อระบบมีประสิทธิภาพ สิ่งที่ได้ตามมาคือ ปริมาณก๊าซชีวภาพที่มากขึ้นและสม่ำเสมอ ซึ่งตอนแทนกลับมาในรูปของการลดค่าใช้จ่าย ด้านพลังงาน และมีกำไรมากขึ้น รวมถึงผลพลอยได้อื่นๆ เช่น การลดปัญหา เรื่อง กลิ่น แมลงวัน น้ำเสีย และมลพิษอื่นๆ เป็นการลดปัญหากับชุมชนรอบ ข้าง สามารถประกอบอาชีพได้อย่างสบายใจ และ ยั่งยืน รวมถึง เป็นผู้มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาโลกร้อนอีกด้วย

  3. การดูแลรักษาระบบผลิตก๊าซชีวภาพการดูแลรักษาระบบผลิตก๊าซชีวภาพ 1. หมั่นตรวจเช็ครอยรั่วของก๊าซตามจุดต่อต่างๆเป็นประจำ 2. หากระบบชุดถังหมักก๊าซชีวภาพไม่สามารถผลิตก๊าซชีวภาพได้ ให้ล้างระบบใหม่ทุกครั้ง 3. ไม่ควรเติมเศษอาหารที่มีรสเปรี้ยวหรือเป็นกรด ลงระบบหมักก๊าซชีวภาพเพราะจะทำให้จุลินทรีย์ที่ผลิตก๊าซตายได้ ไม่ควรนำเศษอาหารที่มีส่วนผสมของน้ำในปริมาณมาก เพราะจะทำให้สารอาหารที่จำเป็นต่อจุลินทรีย์เจือจาง และประสิทธิภาพในการผลิตก๊าซของจุลินทรีย์ต่ำลงจนเกิดก๊าซในระบบน้อยลง ระบบถังผลิตก๊าซชีวภาพควรติดตั้งกลางแจ้งให้สัมผัสความร้อนจากแสงอาทิตย์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตก๊าซชีวภาพ 6. ควรล้างระบบผลิตก๊าซชีวภาพอย่างน้อยทุก 6 เดือน หรือ 1 ปี เพื่อประสิทธิภาพในการผลิตก๊าซชีวภาพ

  4. การดูแลรักษาระบบผลิตก๊าซชีวภาพ (ต่อ) 7. การทำงานเกี่ยวกับระบบ ในบริเวณที่แคบและมีอากาศน้อย ควรมีพัดลมคอยเป่า อากาศให้กับผู้ปฏิบัติงาน และควรมีผู้ปฏิบัติงานด้วยอย่างน้อย 2-3 คน 8. ก๊าซชีวภาพ ถ้าหากสูดดมเข้าไปนาน 15-20 นาที อาจทำให้หมดสติได้และเกิดอันตราย ห้ามสูบบุหรี่ หรือ ทำให้เกิดประกายไฟบริเวณบ่อก๊าซชีวภาพ 9. หากฟาร์มอยู่กลางทุ่งนา ให้ระวังการเผาที่นาด้วย เพราะสะเก็ดไฟหรือฟางที่ไหม้ไฟ อาจลอยมาโดนบ่อก๊าซชีวภาพได้ 10.ในช่วงที่มีการล้างเล้าด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อโรค ให้หลีกเลี่ยงการนำน้ำล้างที่ปนเปื้อนน้ำยา ฆ่าเชื้อโรคเข้าสู่ระบบฯเพราะจะทำให้เชื้อแบคทีเรียตาย

  5. การทดแทนพลังงานต่างๆ ของก๊าซชีวภาพ 1 ลบ.ม. ที่ CH4 60% LPG 0.46 kg ไฟฟ้า 1- 2.4 kWh Biogas ฟืนไม้ 1.5 กก. น้ำมันเตา 0.55 ลิตร น้ำมันดีเซล หมุนเร็ว 0.6 ลิตร น้ำมันเบนซิน ออกเทน91 0.67 ลิตร

  6. ปัญหาและอุปสรรคในการใช้งานก๊าซชีวภาพ - ปัญหาการกัดกร่อนเนื่องจาก ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ซึ่งจะไปกัดกร่อนหัวเตาแก๊ส ทำให้อายุการใช้งานสั้นลง - ปัญหาก๊าซชีวภาพมีปริมาณความชื้นมาก (H2O) ทำให้ค่าความร้อนลดลง และเมื่อ รวมตัวกับก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์จะเกิดเป็นกรดซัลฟิวริกที่มีความกัดกร่อน • ปัญหาค่าความร้อนน้อยเนื่องจากก๊าซชีวภาพมีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Co2) มากถึง 30-35 %โดยปริมาตร ทำให้ค่ามีเทนมีน้อย

  7. อันตรายจากก๊าซชีวภาพ จากคุณสมบัติของก๊าซชีวภาพที่ประกอบไปด้วยก๊าซมีเทน (CH4) ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็น (Co2) ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) และก๊าซอื่น ๆ ซึ่งก๊าซเหล่า นี้ล้วนแต่มีอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของผู้ที่อยู่ในบริเวณระบบก๊าซชีวภาพ อันตรายต่อสุขภาพอนามัย : CH4( ก๊าซมีเทน ) สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไป จะก่อให้เกิดอาการหายใจติดขัดอย่างรุนแรงปวดศีรษะ วิงเวียน และ อาจหมดสติได้ สัมผัสทางผิวหนัง : ไม่ปรากฏว่าเป็นอันตรายเมื่อสัมผัสถูกผิวหนัง กินหรือกลืนเข้าไป : ไม่ปรากฏว่าเป็นอันตรายเมื่อกลืนกินเข้าไป และยากที่จะกลืนกินเข้าไปเนื่องจากเป็นก๊าซ สัมผัสถูกตา : อาจเกิดการระคายเคืองได้ เมื่อสัมผัสถูกตา การก่อมะเร็ง : - ความผิดปกติอื่นๆ : - ที่มา : (ศูนย์ข้อมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ์ กรมควบคุมมลพิษ http://msds.pcd.go.th/index.asp)

  8. อันตรายต่อสุขภาพอนามัย : Co2 ( ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์) สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปทำให้คลื่นไส้ หัวใจเต้นผิดปกติ ปวดศีรษะ มึนงง รบกวนการมองเห็น หายใจไม่ออก มีอาการชัก อาการโคม่า สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะเป็นแผลพอง เหมือนน้ำแข็งกัดกินหรือกลืนเข้าไป กินหรือกลืนเข้าไป : การกลืนหรือกินเข้าไป มีอาการเหมือนน้ำแข็งกัดบริเวณริมฝีปาก และเยื่อเมือกจะมีผลทำลายตับ สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตาจะก่อให้เกิดการระคายเคือง การมองเห็นไม่ชัดเจน การก่อมะเร็ง : สารนี้เป็นสารก่อมะเร็งตาม OSHA , NTP , IARC ความผิดปกติอื่นๆ : -

  9. อันตรายต่อสุขภาพอนามัย : H2S ( ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ) สัมผัสทางหายใจ : การหายใจเข้าไปทำให้วิงเวียนศีรษะ คลื่นไส้ ถ้าได้รับสารปริมาณมาก จะทำให้หมดสติ หรือมีอาการโคม่า อาจทำให้เสียชีวิตได้ สัมผัสทางผิวหนัง : การสัมผัสถูกผิวหนังจะก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง กินหรือกลืนเข้าไป : - สัมผัสถูกตา : การสัมผัสถูกตา จะก่อให้เกิดการระคายเคือง โรคเยื่อบุตาอักเสบ และเยื่อตาขาวได้รับบาดเจ็บ การก่อมะเร็ง : - ความผิดปกติอื่นๆ : สารนี้ทำลายปอด ทรวงอก ระบบหายใจ ทางเดินอาหารไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ และเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์

  10. สรุปผลกระทบจากการสัมผัส H2S (ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์) ต่อร่างกาย ***ไฮโดรเจนซัลไฟด์ NIOSH กำหนดสูงสุดต้องไม่เกิน 10 ppm/10 วินาที

  11. องค์ประกอบของระบบบ่อหมักก๊าซชีวภาพองค์ประกอบของระบบบ่อหมักก๊าซชีวภาพ ท่อนำก๊าซไปใช้งาน ฝาบ่อ บ่อล้น ท่อเติม บ่อหมักก๊าซก ท่อออก

  12. การซ่อมแซมระบบผลิตก๊าซชีวภาพขนาด 4 ลูกบาศก์เมตร แบบถังโพลีเอทิลีน(PE)

  13. ขอบคุณครับ

More Related