390 likes | 1.12k Views
“ การพัฒนาระบบประเมินภายใน ให้พร้อมรับประเมินภายนอกรอบ 4 : โรงเรียนต้องบริหารให้เกิดคุณภาพปกติในเรื่องใดบ้าง? ”. โดย ดร.สิรินันท์ ศรีวีระสกุล. ประเด็นอภิปราย. 1. 2. 3. สิ่งที่โรงเรียนเร่งพัฒนาให้เกิดผล(เกิดคุณภาพปกติ) ก่อนการประกันคุณภาพรอบ 4 คืออะไร ประเด็นหลัก ดึงประเด็น HOT
E N D
“การพัฒนาระบบประเมินภายใน ให้พร้อมรับประเมินภายนอกรอบ 4 : โรงเรียนต้องบริหารให้เกิดคุณภาพปกติในเรื่องใดบ้าง?” โดย ดร.สิรินันท์ ศรีวีระสกุล
ประเด็นอภิปราย 1 2 3 • สิ่งที่โรงเรียนเร่งพัฒนาให้เกิดผล(เกิดคุณภาพปกติ) ก่อนการประกันคุณภาพรอบ 4 คืออะไร • ประเด็นหลัก • ดึงประเด็น HOT • เจาะลึกตัวอย่าง บทเรียน ประเด็นหรือจุดอ่อนที่ควรระวังไม่ให้เกิดขึ้นในการประกันคุณภาพภายในปีการศึกษา 2557 และการประกันคุณภาพภายนอกรอบ 4 คืออะไร ปัจจุบันโรงเรียนมี การพัฒนาระบบ ประกันคุณภาพ ภายในเพื่อเตรียมรับ การประกันคุณภาพ ภายนอกรอบ 4 อย่างไร
1. โรงเรียนมีการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในเพื่อเตรียมรับการประกันคุณภาพภายนอกรอบ 4 อย่างไร • ASEAN • NFQ • โรงเรียนมาตรฐานสากล (สช.) • EQA รอบ 4 • BBL พัฒนามาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน การพัฒนาระบบ IQA SES SAR IQA1 External Auditor + การตรวจ IQA Fb2 Fb1 IQA2 • Comment จาก EQA3 • VISION MISSION • อัตลักษณ์, เอกลักษณ์ฯลฯ งาน/โครงการ
2. สิ่งที่โรงเรียนเร่งพัฒนาให้เกิดผลก่อนการประกันคุณภาพรอบ 4 คืออะไร ประเมินภายในพร้อมรับประเมินภายนอก รอบ 4โรงเรียนต้องบริหารให้เกิดคุณภาพปกติในเรื่องใดบ้าง ประเด็นหลัก 1. ประสิทธิภาพการเรียนการสอน 2. เน้นทักษะการคิดเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Teach less learn more) 3. การมีวินัยแห่งตน มีความรับผิดชอบ 4. ทักษะชีวิต สามารถปรับตัวและรู้เท่าทันสื่อ เทคโนโลยี 5. พัฒนาคุณภาพครู จรรยาบรรณครู 6. แหล่งเรียนรู้ประสิทธิภาพของสื่อ 7. การมีส่วนร่วมของชุมชนและเครือข่ายต่าง ๆ ฯลฯ
ดึงประเด็น HOT! • อ่านออก เขียนได้ คำนวณเป็น • ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และพฤติกรรมเสี่ยง เช่น ยาเสพติด การทะเลาะวิวาท ข่มขู่รังแก พฤติกรรมด้านชู้สาว ฯลฯ • English (CEFR) • HOTS • การทิ้งชั้นเรียน ผลงานวิชาการที่คัดลอกผู้อื่น • มีความเป็นต้นแบบ (Model) • Thainess
เจาะลึกตัวอย่าง งานศาสนกิจ พัฒนา Character Education Ethics M.1-3 Research Bible School’s Philosophy Spirit Character Students’ Teachers’ Parents’ Opinions
ด้านวิชาการ • ขยาย FEP , พัฒนาการสอน English • เพิ่มโปรแกรม Gifted • ทำวิจัย SE Model • พัฒนา BBL QA • STEM Education • Self Discovery Center • New Gen TeachersDevelopment
ด้านกิจการนักเรียน ชุมชนสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ • ห้องเรียนวินัยดี • สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ • โรงเรียนในเครือ ร.6 • โรงเรียน 1 ช่วย 9 • โรงเรียนใน NZ , SG, China, Laos , Japan
3. บทเรียนจากการประเมินภายในและภายนอกที่ผ่านมา ซึ่งไม่ควรเกิดขึ้นในปีการศึกษานี้ และสมศ. รอบ 4 • ความกลมกลืนของระบบประกันคุณภาพและสภาพปกติ • ครูรู้ เข้าใจ ให้ความสำคัญนำไปเชื่อมโยงในงานประจำ • การตรวจประเมิน ผลในสภาพจริง (เอกสาร สภาพจริง??) • 2. ความน่าเชื่อถือของร้อยละและระดับคุณภาพ • 3. การตีความจากประเด็นตัวบ่งชี้ของ สมศ. หรือ มาตรฐาน • 4.การจัดคน ระบบ เอกสารเพื่อรับการตรวจประเมิน • 5. อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ มาตรการส่งเสริม
ชื่องานวิจัย :การพัฒนารูปแบบการนำเสนองานบนพื้นฐานหลักคิดพอเพียงเพื่อส่งเสริมสมรรถนะ การคิดขั้นสูงและทักษะการสื่อสารของนักเรียนโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย ที่มาและความสำคัญ • นโยบายน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง • สมรรถนะการคิดขั้นสูง บันไดการเรียนรู้ 5 ขั้น ทักษะการเรียนในศตวรรษที่ 21 • ทักษะการนำเสนอของนักเรียน
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการนำเสนองานบนพื้นฐานหลักคิดพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย เพื่อประเมินประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนของครูโดยการใช้รูปแบบการนำเสนองานบนพื้นฐานหลักคิดพอเพียงที่พัฒนาขึ้น เพื่อประเมินความสามารถด้านทักษะการคิดขั้นสูงและทักษะการสื่อสารของนักเรียนฯ จากการใช้รูปแบบการนำเสนองานบนพื้นฐานหลักคิดพอเพียงที่พัฒนาขึ้น
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - 3 ห่วง ได้แก่ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีระบบภูมิคุ้มกันที่ดีในตนเอง - 2 เงื่อนไข ได้แก่ ความรู้และคุณธรรม - 4 มิติ ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม กรอบแนวคิดในการวิจัย 7 คำถามสำคัญเพื่อพัฒนากระบวนการคิดตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของทิศนา แขมมณี (2555) จะทำอะไร? ทำไมจึงทำ? มีความพร้อม/ความเป็นไปได้ที่จะทำหรือไม่ มีความรู้เพียงพอในเรื่องที่จะทำหรือไม่? ต้องศึกษาหาความรู้อะไรเพิ่มเติม จะทำอะไรจึงจะเกิดความพอดี/พอประมาณ และสามารถรองรับปัญหาหรือการเปลี่ยนแปลในอนาคตได้? ลงมือทำอย่างไรจึงจะสำเร็จ อะไรที่ทำได้ดี อะไรที่ยังทำไม่ได้ดี จะปรับปรุงแก้ไขอย่างไร? เกิดการเรียนรู้อะไรขึ้นบ้างจากการคิด การทำตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบการนำเสนองานบนพื้นฐานหลักคิดพอเพียงของนักเรียนโรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ประสิทธิภาพการจัดการเรียน การสอนของครู ความสามารถด้านทักษะการคิด ขั้นสูงและทักษะการสื่อสารของนักเรียน ทักษะการคิดขั้นสูง (High Order Thinking Skills) • คิดวิเคราะห์ • คิดอย่างมีวิจารณญาณ • คิดแก้ปัญหา • คิดสังเคราะห์ • คิดสร้างสรรค์ • คิดแบบหมวก 6 ใบ - บันไดการเรียนรู้ 5 ขั้น และทักษะการสื่อสาร - วิชา IS1-IS2-IS3
วิธีดำเนินการวิจัย 1. ศึกษาวิเคราะห์ 2. กำหนดรูปแบบ 3. ตรวจสอบคุณภาพ รูปแบบ 4. รูปแบบที่ผ่านตรวจสอบ 5. อบรมให้ความรู้ - การเขียนแผนการสอนที่สอด คล้อง (แบบประเมิน) - การใช้สื่อ ใบงาน ฯลฯ - การวัดผลประเมิน - การนิเทศ (แบบสังเกตการสอน ครู และแบบ Bh ของนักเรียน 6. นำปปฏิบัติ 8. นำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนา (D1) 7. ประชุมสะท้อนผลการนำรูปแบบไปใช้ระยะที่ 1 10. นำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนา (D2) 9. ประชุมระยะที่ 2 11. จัดเวทีนำเสนอผลงานนักเรียน เพื่อประเมินความสามารถในการ นำเสนองานบนหลักคิดพอเพียง (แบบสังเกต , สัมภาษณ์) 12. สรุปผลการวิจัย
รูปแบบการนำเสนองานบนพื้นฐานหลักคิดพอเพียงใน P.R.C. Decision Makingการตัดสินใจ • ทำไมจึงเลือก…. • 2Q (ปริมาณ , • คุณภาพ) • สิ่งที่ต้องระวัง • ผลต่อ4D Inspiration แรงบันดาลใจ ตัดสินใจบนพื้นฐานอะไร • ทำอะไร • ทำไมจึงทำ(เพื่อแก้ไข/พัฒนา ฯลฯ) อะไรคือ แรงบันดาลใจ Process กระบวนการทำงาน KVD4 • มีขั้นตอนอย่างไร • ระหว่างทำปรับ/แก้ไขอย่างไร • ติดตามประเมินอย่างไร • รู้ได้อย่างไรว่าสำเร็จ มีกระบวนการ /ขั้นตอน ทำอย่างไร WW PDCA Sharing การแบ่งปันและขยายผล Result ผลที่เกิดขึ้น • ผลเป็นอย่างไร • รู้สึกอย่างไรกับผลที่เกิดขึ้น • มีจุดเด่น/ด้อยอย่างไร • ได้เรียนรู้อย่างไร • นำไปใช้ในชีวิตประจำอย่างไร • จะแบ่งปัน/ต่อยอดอย่างไร • มีผลที่เกิดขึ้นกับผู้อื่น/ชุมชน • อย่างไร • จะพัฒนาหรือต่อยอด • อย่างไร ชุมชน/สังคม ได้รับผลที่ดี จากงานนี้ อย่างไร ผลเป็น อย่างไร RLF 4D SDS
7 คำถามสำคัญ รูปแบบ SE สมรรถนะการคิดขั้นสูง 1. จะทำอะไร? ทำไมจึงทำ? Inspiration แรงบันดาลใจ คิดวิเคราะห์ • Decision Makingการตัดสินใจ 2. มีความพร้อม/ความเป็นไปได้ที่จะทำหรือไม่? • Processกระบวนการทำงาน คิดสังเคราะห์ • Resultผลที่เกิดขึ้น 3. มีความรู้เพียงพอในเรื่องที่จะทำหรือไม่? ต้องศึกษาหาความรู้อะไรเพิ่มเติม • Sharingการแบ่งปันและขยายผล คิดอย่างมีวิจารณญาณ 4. จะทำอย่างไรจึงจะเกิดความพอดี/พอประมาณ และสามารถรองรับปัญหาหรือการเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้? คิดสร้างสรรค์ 5. ลงมือทำอย่างไรจึงจะสำเร็จ? 6. อะไรที่ทำได้ดี อะไรที่ยังทำไม่ได้ดีจะปรับปรุงแก้ไขอย่างไร? คิดแก้ปัญหา การคิดแบบ หมวก 6 ใบ 7. เกิดการเรียนรู้อะไรขึ้นบ้างจากการคิด - การทำตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
STUDENT OUTCOMES School Leadership And Student Outcomes: Identifying What Works and Why Professor Viviane M. J. Robinson School of Teaching, Learning and Development Faculty of Education The University of Auckland Auckland, New Zealand
The purpose is to identity those dimensions of leadership which make the biggest difference to students are to explain why they work.
U.S.A. (18) The search yielded 26 studies published in 1978-2006 Canada (2) Australia, England, Hong Kong, Israel Netherland, New Zealand, Singapore
Table 1: Leadership Dimensions Derived from 11 Studies of Effects of Leadership on Student Outcomes
Leadership Dimension no.4 - Both promoting and participating in teacher learning and development, because more is involved than just providing opportunities for staff development - The contexts for such learning are both formal (staff meetings and professional development) and informal (discussions about specific teaching problems). This is a large effect and provides some empirical.
WHY … 1. An indicator of their focus on the quality of teachers and teaching. 2. Learn more about what their staff are up against and provide them with more real support.*** Hallinger & Heck 3. Have a much more detailed appreciation of the changes. (in student grouping, timetabling, teaching resource, and change process)
3. บทเรียน ประเด็นหรือจุดอ่อนที่ควรระวังไม่ให้เกิดขึ้นในการประกันคุณภาพภายในปีการศึกษา 2557 และการประกันคุณภาพภายนอกรอบ 4 คืออะไร?
Text in here สิ่งที่โรงเรียนได้พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา • พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในตามกฎกระทรวงฯอย่างเข้มแข็ง มีการตรวจประเมินคุณภาพ ภายในภาคเรียนละ 1 ครั้ง • พัฒนามาตรฐานการศึกษาโดยนำเรื่อง ASEAN, BBL, P.R.C. Charater และมาตรฐานสากล ปรับเข้าไปในมาตรฐานการศึกษา • พัฒนาการตรวจประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ นำผล IQA ไปพัฒนาในภาคเรียนต่อไป • นำข้อเสนอแนะจากการประเมินภายนอก รอบ 3 มาแก้ไขปรับปรุงให้เกิดความชัดเจน • ศึกษาร่างตัวบ่งชี้การประเมินภายนอก รอบ 4เพื่อนำมาเตรียมการรับการตรวจประเมิน • ศึกษาผลสัมฤทธิ์ในเชิงลึกเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนทุกกลุ่มสาระฯ และทุกระดับการศึกษา
บทเรียนจากการประเมินภายในและภายนอกที่ผ่านมาซึ่งไม่ควรเกิดขึ้นในปีการศึกษานี้ และสมศ. รอบ 4 ที่มาของร้อยละ/ระดับคุณภาพ ต้องน่าเชื่อถือ สะท้อนภาพจริงไม่หลอกตัวเอง ครูไม่คุ้นเคยกับการประกันคุณภาพการศึกษา การเตรียมเพื่อตรวจประเมินมักเตรียมเป็นครั้ง ๆ สร้างภาระงานแต่ควรอยู่ในชีวิตประจำวัน ครูหรือผู้เกี่ยวข้องตีประเด็นตัวบ่งชี้ของ สมศ. หรือมาตรฐานการศึกษาไม่ถูกต้องและชัดเจน
ประเมินภายในพร้อมรับประเมินภายนอก รอบ 4โรงเรียนต้องบริหารให้เกิดคุณภาพปกติในเรื่องใดบ้าง 1. ประสิทธิภาพการเรียนการสอน 2. เน้นทักษะการคิดให้นักเรียนพูดมากขึ้น 3. การมีวินัยแห่งตน มีความรับผิดชอบ 4. มีทักษะชีวิต สามารถปรับตัวและรู้เท่าทันสื่อ 5. พัฒนาคุณภาพครู จรรยาบรรณครู