1 / 20

บทปฏิบัติการที่ 5

บทปฏิบัติการที่ 5. PLANT TISSUE ANALYSIS. การเจริญเติบโตของพืช คือ การที่พืชสะสมน้ำหนัก แห้ง เนื่องจากพืชรับธาตุอาหารและน้ำมาใช้ใน กระบวนการเมแทบอลิซึมเพื่อใช้ในการเจริญเติบโต โดยทั่วไปเนื้อเยื่อพืชสดมีน้ำเป็นองค์ประกอบถึง 80-90 % แต่ขึ้นกับชนิดและระยะการเจริญเติบโต

lamont
Download Presentation

บทปฏิบัติการที่ 5

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS

  2. การเจริญเติบโตของพืช คือ การที่พืชสะสมน้ำหนัก แห้ง เนื่องจากพืชรับธาตุอาหารและน้ำมาใช้ใน กระบวนการเมแทบอลิซึมเพื่อใช้ในการเจริญเติบโต โดยทั่วไปเนื้อเยื่อพืชสดมีน้ำเป็นองค์ประกอบถึง 80-90% แต่ขึ้นกับชนิดและระยะการเจริญเติบโต รวมถึงสะสมน้ำหนักแห้งประมาณ 20% ของน้ำหนักสด

  3. 90% ของน้ำหนักแห้งเป็นอินทรียสาร ส่วนใหญ่คือ โครงสร้างของผนังเซลล์ เช่น คาร์โบไฮเดรท โปรตีน ไขมัน ส่วนที่เหลือคือ อนินทรียสาร ที่พืชสะสมใน เซลล์หรือเนื้อเยื่อในรูปของธาตุอาหาร และนำไปใช้ ในกระบวนการเมแทบอลิซึม

  4. ปริมาณหรือความเข้มข้นของธาตุอาหารที่สะสมในปริมาณหรือความเข้มข้นของธาตุอาหารที่สะสมใน เซลล์หรือเนื้อเยื่อพืช ขึ้นกับชนิดพืช อายุ สภาพแวดล้อม เช่น แสง ความชื้น อุณหภูมิ ชนิดดิน pH ดิน ปริมาณอินทรียสารในดิน รวมถึงบทบาทและ หน้าที่ของธาตุอาหารต่อกระบวนการทางสรีรวิทยา ของพืช

  5. การตรวจสอบว่าพืชขาดธาตุอาหารหรือไม่ สามารถทำ ได้หลายวิธี เช่น อาการขาดธาตุอาหารที่พืชแสดงออก (visual symptom) การวิเคราะห์เนื้อเยื่อพืช(plant tissue analysis) และวิเคราะห์ดิน (soil analysis)

  6. บทปฏิบัติการนี้ วิเคราะห์เนื้อเยื่อพืชเพื่อตรวจหา ธาตุอาหารที่มีอยู่ในสารละลายเถ้า ซึ่งสามารถทราบ การขาดธาตุอาหารพืชก่อนพืชจะแสดงอาการขาดธาตุ อาหารให้เห็น ซึ่งสามารถแก้ปัญหาการขาดธาตุอาหาร ของพืชได้ N, P, S มักสูญหายระหว่าง เตรียมเถ้า หรือมีปริมาณน้อย ลง

  7. วัตถุประสงค์คือ เพื่อให้ทราบวิธีการวิเคราะห์ธาตุอาหารพืชบางชนิด ที่เป็นองค์ประกอบในเถ้าเชิงคุณภาพ(quantitative test)

  8. หลักการคือ • ทดสอบ Ca • ใช้ ammonium oxalate( (NH 4)2C2O4 )ทดสอบ • Ca 2+ (aq) + C2O42-(aq) Ca C2O4 (s) • calcium ion oxalate ion calcium oxalate • ได้ตะกอนสีขาว • ของ calcium oxalate

  9. Ca

  10. 2. ทดสอบ Mg ใช้ สารละลาย (NH4 OH)(1:4) และ (Na2HPO4) ทดสอบ 2Mg+2 (aq) + 2 HPO4 2-(aq) + 2 NH 4 +(aq) 2 MgNH4PO4(s) ได้ตะกอนสีขาว ของ Magnesium ammonium phosphate

  11. Mg

  12. 3. ทดสอบ S ใช้ สารละลาย barium chloride(BaCl2)ทดสอบ SO42- (aq)+ Ba 2+ (aq) Ba SO4 (s) ได้ตะกอนสีขาว ของ Barium sulfate

  13. S

  14. 4. ทดสอบ P ใช้ สารละลาย ammonium molybdate( (NH4)2MoO4) ทดสอบ ในสภาพกรด PO43-(aq) + 3 NH4 +(aq) + 12 MoO42- (aq) (NH4)3 PO4(MoO3)12(s) ได้ตะกอนสีเหลืองของ ammonium phosphate molybdate

  15. เติม stannnous chloride (SnCl 2)ลงไปเพื่อเป็น reducing agent และเกิด (MoO 2.4 MoO3)2.H3 PO4.H2O ซึ่งเป็นสารละลายสีน้ำเงิน

  16. 5. ทดสอบ Fe ใช้ สารละลาย potassium thiocyanate( KSCN) ทดสอบ Fe 3+ (aq) + SCN – (aq) Fe (SCN) 2+ (aq) ferrothiocyanate ได้สารละลายสีแดง ของ ferrothiocyanate

  17. Fe

  18. ลำดับการทดลอง การเตรียมสารละลายเถ้า นำเถ้าประมาณ 2 กรัม ใส่beaker 50 ml เติมน้ำกลั่น 10 ml ทดสอบ pH ด้วยกระดาษลิตมัส

  19. เติมสารละลายกรด HCl (1:4) 5 ml สังเกตฟอง อากาศ เติมน้ำกลั่น 25 ml ต้มให้เดือด ทิ้งให้เย็น แล้วกรองด้วย กระดาษกรองเบอร์ 1 จะได้ สารละลายเถ้า(ash solution)

More Related