520 likes | 994 Views
ARCT 431 Applied Lanna Architecture. แสง - เงา ในงานสถาปัตยกรรมไทย. คุณสมบัติของแสง. สีของแสง. แสงอาทิตย์ ประกอบด้วยเปคตรัม 7 สี แต่สายตาคนรับรู้ รวมกัน เป็นสีขาว. สถาปัตยกรรมที่ทาด้วยสีต่างๆ จะสะท้อนสีเข้ามาสู่สายตาชัดเจนในสีนั้น.
E N D
ARCT 431 Applied Lanna Architecture แสง - เงา ในงานสถาปัตยกรรมไทย
คุณสมบัติของแสง สีของแสง แสงอาทิตย์ ประกอบด้วยเปคตรัม 7 สี แต่สายตาคนรับรู้ รวมกัน เป็นสีขาว สถาปัตยกรรมที่ทาด้วยสีต่างๆ จะสะท้อนสีเข้ามาสู่สายตาชัดเจนในสีนั้น สถาปัตยกรรมที่ทาด้วยสีขาว จะสะท้อนสีเข้ามาสู่สายตาชัดเจนด้วยสีของแสงดวงอาทิตย์ให้สีของแสงแตกต่างกันตามช่วงเวลา โดยเฉพาะโทนสีอุ่น ในยามเช้าและยามเย็น สวนตอนกลางวันให้แสงจ้าของสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน
สถาปัตยกรมไทยส่วนใหญ่ตัวอาคารใช้สีขาวของ ปูนขาว ผนังสีไม้ หลังคาสีไม้ หรือกระเบื้องดินเผา จึงสีของแสง 2 ประเภทคือ สีโทนอุ่นจากวัสดุ และสีโทนอุ่นจากช่วงเวลา
เงาเกิดจาก สิ่ง 3 มิติ มีแสงมาตกกระทบ เกิด เงา งานสถาปัตยกรรมเป็นผลงานศิลปะ 3 มิติ ที่จะต้องมีเงา เงาเกิดขึ้นจาก รูปทรง พื้นผิว การเพิ่ม ลด และ เจาะ รูปทรง เงาที่เกิดขึ้นอยู่กับทิศทางของแสงและความเข้มของแสง โดยเฉพาะประเทศไทยที่ตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตรที่ทำมุมฉากกับแสงดวงอาทิตย์ ความงามที่เกิดจากเงามีมานานแล้ว แต่ไม่ได้กล่าวถึงเป็นทฤษฎีอย่างชัดเจน
แสงและเงา มีบทบาทอย่างมากในงานสถาปัตยกรรมและเป็นวิธีการสำคัญในการสร้างคุณค่าความงามของสถาปัตยกรรม จนเป็นหลักการออกแบบของ สถาปัตยกรรมยุคสมัย Modern และนำมาสู่สถาปนิกบางคนที่นิยมสีขาว
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย ศูนย์ข้อมูลอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย ศูนย์ข้อมูลอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย ศูนย์ข้อมูลอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย เรือน สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย เรือน สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย เรือน สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย เรือน สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย เรือน สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย เรือน สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย เรือน สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย เรือน สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย เรือนโบราณ ตลาดอนุสาร
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย เรือนโบราณ ตลาดอนุสาร
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย เรือนอิสาน มหาสารคาม
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย บ้านหกเสา วัดเกตุ
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย วัดพระธาตุลำปางหลวง
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย วัดเจ็ดยอด
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย วัดเจดีย์หลวง
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย วัดหน้าพระเมรุ พระนครศรีอยุธยา
ตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทยตัวอย่างแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย วัดป่าแดด แม่แจ่ม
สรุป ลักษณะเฉพาะของแสงและเงาในงานสถาปัตยกรรมไทย - มีความ Contras สูงของแสงกับเงา ทั้งส่วนภายนอกอาคาร ระหว่างในร่มเงากับกลางแจ้ง และส่วนภายในอาคารกับกลางแจ้งกับ - ภายในอาคารมีความมืดมากกว่าสว่าง ส่วนใหญ่เป็นเงาสลัว แต่สร้าง Contras กับภายนอกสูง - แสงกับเงามีรูปร่างเป็น เส้นสาย มาก จาก เสาลอย ช่องแสง ระแนงกันแดด - อาคารศาสนาแก้ความมืดของเงาอาคารด้วยการประดับสีสันเพื่อให้สะท้อนแสง เช่น สีทอง แดง และการประดับกระจกสี - แสงและเงาจะใช้แสงธรรมชาติมากกว่าแสงประดิษฐ์ เนื่องจากยังไม่มีไฟฟ้า จึงมีความแตกต่างกันตามช่วงเวลา และบริบทที่แตกต่าง
คุณค่า ความงามของ เรือนพื้นถิ่น ความงามของเรือนพื้นถิ่นเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ของช่างชาวบ้านที่เรียนต่อกันมา คุณค่าของความงามเป็นมิติของความเรียบง่าย ซื่อบริสุทธิ์ ตรงไปตรงมา แสดงสัจจะของรูปทรงที่เกิดจากการใช้วัสดุก่อสร้างของไม้ไผ่ และข้อจำกัดของโครงสร้าง ความงามของที่ว่าง เกิดจากแสงและเงา มากกว่าการประดับตกแต่ง
เนื่องจากมีการปลูกสร้างบ้านเรือนริมสายน้ำ เงาสะท้อนน้ำเป็นลักษณะเฉพาะอีกประการหนึ่งที่สามารถนำไปใช้ได้
ตัวอย่างงานสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ที่ใช้แสงและเงา วัดศาสาลอย นครราชสีมา
ตัวอย่างงานสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ที่ใช้แสงและเงา หอศิลปวัฒนธรรม มช.
ตัวอย่างงานสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ที่ใช้แสงและเงา หอศิลปวัฒนธรรม มช.
ตัวอย่างงานสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ที่ใช้แสงและเงา โรงแรมรติ ล้านนา
ตัวอย่างงานสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ที่ใช้แสงและเงา ศูนย์ศึกษาประวัติศาสตร์อยุธยา