1 / 19

ความสมดุลและความยืดหยุ่น Equilibrium and Elasticity

ความสมดุลและความยืดหยุ่น Equilibrium and Elasticity. เงื่อนไขของสภาพสมดุล. เงื่อนไขที่ 1: สมดุลต่อการเลื่อนตำแหน่ง “ผลรวมขนาดของแรงภายนอกที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเท่ากับศูนย์” . เงื่อนไขที่ 1: สมดุลต่อการหมุน “ผลรวมขนาดของทอร์คที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเท่ากับศูนย์” .

lakia
Download Presentation

ความสมดุลและความยืดหยุ่น Equilibrium and Elasticity

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความสมดุลและความยืดหยุ่นEquilibrium and Elasticity

  2. เงื่อนไขของสภาพสมดุล • เงื่อนไขที่ 1: สมดุลต่อการเลื่อนตำแหน่ง “ผลรวมขนาดของแรงภายนอกที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเท่ากับศูนย์”

  3. เงื่อนไขที่ 1: สมดุลต่อการหมุน “ผลรวมขนาดของทอร์คที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเท่ากับศูนย์” โมเมนต์ตาม = โมเมนต์ทวน

  4. ตัวอย่าง แท่งไม้น้ำหนัก w ถูกแขวนจุดหมุนไร้ความเสียดทานและปลายอีกด้านหนึ่งถูกยึดกับเชือกที่ห้อยจากกำแพง ดังรูป จงหาแรงตึงในเส้นเชือก

  5. ตัวอย่าง • แท่งไม้สม่ำเสมอยาว L น้ำหนัก w วางตัวอยู่ในสภาวะสมดุล ดังรูป น้ำหนักที่ตาชั่งอ่านได้มีค่าเท่าใด

  6. ความเค้น (stress) ความเครียด (strain) และโมดูลัส (modulus) • วัตถุเมื่อได้รับแรงกระทำ จะทำให้เกิดการเปลี่ยนรูปร่าง • เทอมที่เกี่ยวข้อง คือ ความเค้นและความเครียด

  7. ความเค้น คือ ขนาดแรงกระทำต่อหน่วยพื้นที่ (ความจริงต้องเป็นแรงเฉลี่ย) • ชนิดความเค้น • ความเค้นดึง (tensile stress) • ความเค้นอัด (compressive stress) • ความเครียด คือ อัตราส่วนความยาวที่เปลี่ยนไปต่อความยาวเดิม • ชนิดความเครียด • ความเครียดดึง (tensile strain) • ความเครียดอัด (compressive strain)

  8. แรงอัด นำไปสู่ความเค้นอัดและความเครียดอัด

  9. โมดูลัสของยัง (Young’s modulus) • ตามกฎของฮุค (Hook’s law) ความเค้นแปรผันโดยตรงกับความเครียด เราเรียกค่าคงที่ของการแปรผัน k ว่า โมดูลัส สำหรับกรณีแรงดึง ความเค้นดึง เราแทน k ด้วย Y และให้ชื่อว่า Young’s modulus

  10. ตัวอย่าง • เส้นลวดเหล็กยาว 2.0 m มีพื้นที่หน้าตัด 0.50 cm2เมื่อนำชิ้นส่วนเครื่องยนต์หนัก 500 kg ไปแขวนที่ปลายด้านล่าง จงหาความเค้น ความเครียด และส่วนความยาวที่ยืดออก (ค่ายังโมดูลัสของเหล็กมีค่า 20 ×1010 Pa)

  11. Bulk stress and strain • ผลของแรงกระทำใน 3 มิติ จะทำให้วัตถุเปลี่ยนรูปร่าง (เปลี่ยนปริมาตร) Bulk stress หรือ volume stress อยู่ในรูปของความดัน Bulk strain หรือ volume strain = DV/V0 สำหรับการเปลี่ยนความดันเพียงเล็กน้อย Dp จะได้ Bulk modulus

  12. Shear stress and strain • ผลของแรงกระทำที่มีทิศทางตามแนวระนาบผิวทำให้เกิดการบิดเบี้ยว อธิบายโดย shear stress และ shear strain Shear modulus ถ้า f มีค่าน้อย ๆ

  13. สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุล (Equilibrium) • คือ สมดุลที่เกิดขึ้นในขณะที่ วัตถุอยู่ในสภาพนิ่ง หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ถ้า แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเป็นศูนย์ สมดุลจะแบ่งเป็น 1. สมดุลสถิต (Static Equilibrium) เป็นสมดุลของ วัตถุขณะอยู่นิ่ง

  14. 1. สมดุลจลน์ (Kinetic Equilibrium) เป็นสมดุลของ วัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ (a = 0) เมื่อพิจารณา การเคลื่อนที่เป็นหลัก จะมีเงื่อนไขสมดุลอยู่ 2 อย่างคือ 1. สมดุลต่อการเลื่อนที่ คือ วัตถุอยู่นิ่งหรือเคลื่อนที่ ด้วยความเร็วคงตัว จะมีค่า 2. สมดุลต่อการหมุน คือ วัตถุมีอัตราการหมุนคงตัว ผลรวมของโมเมนต์ หลักที่นำมาใช้ในการคำนวณในกรณีที่วัตถุสมดุลต่อการ เลื่อนที่ คือ

  15. 1. แตกแรง ผลรวมของแรงทางด้านขวา = ผลรวมของ แรงทางด้านซ้าย ผลรวมของแรงทางด้านบน = ผลรวมของ แรงทางด้านล่าง • 2. ทฤษฎีลามี (กฎของ sine) แรง 3 แรงมากระทำกันที่จุด ๆ หนึ่ง และอยู่ในภาวะ สมดุล อัตราส่วนของแรงต่อ sin ของมุมตรงข้ามย่อมมีค่า เท่ากัน

  16. 3. สามเหลี่ยมแทนแรง ถ้ามีแรง 3 แรงกระทำร่วมกันที่จุด ๆ หนึ่ง และอยู่ใน ภาวะสมดุลโดยทิศของแรงทั้ง 3 แรงตั้งฉากกับด้านทั้ง 3 ของสามเหลี่ยมจะได้อัตราส่วนขนาดของแรงต่อด้าน ที่แรงนั้นตั้งฉากอยู่

  17. แรงเสียดทาน ลักษณะของแรงเสียดทาน • 1. ไม่ขึ้นกับจำนวนพื้นที่ผิวสัมผัส2. ไม่ขึ้นกับความเร็วที่วัตถุเคลื่อนที่ และมีทิศตรงข้ามการเคลื่อนที่ของวัตถุ3. ขึ้นอยู่กับแรงที่วัตถุกดพื้นในแนวตั้งฉาก หรือ แรงปฏิกิริยาของ พื้นในแนวตั้งฉาก

  18. 4. ขึ้นกับพื้นผิวสัมผัส เช่น ขรุขระ หรือเรียบ แรงเสียดทานแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 4.1 แรงเสียดทานสถิต (fs) เป็นแรงเสียดทานที่เกิดขึ้น ในขณะที่วัตถุอยู่นิ่ง จนถึงเริ่มต้นเคลื่อนที่ fs = แรงเสียดทาน หน่วยเป็นนิวตัน = สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิต N = แรงต้านของพื้นในแนวตั้งฉาก หน่วยเป็นนิวตัน 4.2 แรงเสียดทานจลน์ (fk) เป็นแรงเสียดทานขณะวัตถุ กำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ซึ่งจะมีค่าน้อยกว่าแรงเสียดทานสถิต มุมของความเสียดทาน ถ้าวัตถุอยู่บนพื้นเอียงแล้ววัตถุลื่นไถลลงมาตามพื้นเอียง ด้วย ความเร็วคงที่ มุมที่พื้นระนาบเอียงกระทำกับแนวระดับ คือ มุมของความเสียดทาน โมเมนต์ (M) = แรง x ระยะทางตั้งฉากจากจุดหมุนถึงแนวแรง หน่วยเป็นนิวตัน-เมตร (N-m) โมเมนต์ของแรงคู่ควบ - เมื่อมีแรงคู่ควบกระทำต่อ วัตถุ วัตถุจะเกิดการหมุน ดังนั้นโมเมนต์แรงคู่ควบ หา จาก แรง 1 แรง ระยะทางตั้งฉากระหว่างแนวแรง การได้เปรียบเชิงกล (MA) คือ อัตราส่วนของแรงที่ได้จาก เครื่องกล กับแรงที่ให้กับเครื่องกล F0 = แรงที่ได้จากเครื่องกล F1 = แรงที่ให้กับเครื่องกล

More Related