1 / 10

การขับเคลื่อนตำรายาของประเทศไทย

การขับเคลื่อนตำรายาของประเทศไทย. ภญ . นันทนา สิทธิชัย ผู้อำนวยการสำนักยาและวัตถุเสพติด กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. ความเป็นมา. ริเริ่มโดยท่านผู้หญิงปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา เมื่อปี พ . ศ . 2522 คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำตำรายาของประเทศไทยครั้งแรกเมื่อ 14 ก . พ . พ . ศ . 2522

lakia
Download Presentation

การขับเคลื่อนตำรายาของประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขับเคลื่อนตำรายาของประเทศไทยการขับเคลื่อนตำรายาของประเทศไทย ภญ.นันทนา สิทธิชัย ผู้อำนวยการสำนักยาและวัตถุเสพติด กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

  2. ความเป็นมา • ริเริ่มโดยท่านผู้หญิงปรียา เกษมสันต์ ณ อยุธยา เมื่อปี พ.ศ. 2522 • คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำตำรายาของประเทศไทยครั้งแรกเมื่อ 14 ก.พ. พ.ศ. 2522 • เป็นคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดยมติคณะรัฐมนตรี โดยมีอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นประธานกรรมการโดยตำแหน่ง

  3. วัตถุประสงค์ของการจัดทำตำรายาฯวัตถุประสงค์ของการจัดทำตำรายาฯ • เพื่อเป็นมาตรฐานที่ใช้เป็นเกณฑ์ตัดสินคุณภาพยาที่ผลิตและจำหน่ายในประเทศ • เพื่อปรับปรุงวิธีการวิเคราะห์ให้เหมาะสมกับสภาวะของประเทศไทย • เพื่อใช้เป็นตำราที่เป็นที่เชื่อถือมีกฎหมายรับรองและเป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ • เพื่อเป็นคู่มือสำหรับแพทย์ เภสัชกร ร้านขายยา ผู้ใช้กฎหมายตลอดจนผู้ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับยา

  4. สถานะทางกฎหมาย • ในปัจจุบันทั้ง TPและ THPเป็นตำรายาตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องระบุตำรายา พ.ศ. 2549 ซึ่งเป็นประกาศ โดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 76(1)แห่ง พ.ร.บ. ยา พ.ศ. 2510ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. ยา (ฉบับที่3) พ.ศ. 2522ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข โดยคำแนะนำของคณะกรรมการยาออกประกาศดังกล่าว

  5. การดำเนินงาน • คณะกรรมการจัดทำตำรายาของประเทศไทย • คณะอนุกรรมการต่างๆเช่น - คณะอนุกรรมการกำหนดมาตรฐานและวิธีตรวจสอบคุณภาพยา -คณะอนุกรรมการจัดทำตำรามาตรฐานยาสมุนไพรไทย • คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจต่างๆเช่น - คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจด้านการใช้สถิติในการวิเคราะห์และทดสอบทางชีววิทยา

  6. -คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจด้านการจัดทำมาตรฐานผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรไทย-คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจด้านการจัดทำมาตรฐานผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรไทย • กลุ่มจัดทำตำรายาของประเทศไทย สำนักยาและวัตถุเสพติดเป็นผู้รับผิดชอบ

  7. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมาผลการดำเนินงานที่ผ่านมา • ตำรายาของประเทศไทย (Thai Pharmacopoeia) -TP I, Volume I, Part 1 and 2เป็นมาตรฐานยาวัตถุดิบ จำนวน 1073โมโนกราฟ -TP I, Volume II, Part 1,2 and 3เป็นมาตรฐานยาสำเร็จรูป จำนวน 823โมโนกราฟ -TP IIจัดพิมพ์ปลายปี พ.ศ. 2553

  8. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมาผลการดำเนินงานที่ผ่านมา • ตำรามาตรฐานยาสมุนไพรไทย (Thai Herbal Pharmacopoeia, THP) -THP,volume Iประกอบด้วยสมุนไพร 11 ชนิด และวิธีทดสอบ 76 เรื่อง - THP,volume II ประกอบด้วยสมุนไพร 10 ชนิด และวิธีทดสอบ 72 เรื่อง -Supplement to Thai Herbal Pharmacopoeia 2004 ประกอบด้วยสมุนไพร 2 ชนิด และ ยาเตรียม 3 ตำรับ และวิธีทดสอบ 40 เรื่อง - THP,volume III อยู่ระหว่างจัดพิมพ์

  9. ปัญหาและอุปสรรค • ความไม่ทันต่อเหตุการณ์ ออกช้า ทำให้มีมาตรฐานยาใหม่ๆออกมาช้า • กรณีสมุนไพรที่เป็นที่ต้องการของตลาด ออกช้า • การใช้อ้างอิงยังไม่เป็นที่แพร่หลายเท่าที่ควร

  10. ขอบคุณ…

More Related