410 likes | 635 Views
การปฐมนิเทศ. นักศึกษาเทียบโอนความรู้ และประสบการณ์. รุ่นที่ 8 ปีการศึกษาที่ 1/2553. วิทยาลัยการอาชีพเชียงราย. วิทยาลัยการอาชีพเชียงราย. ยินดีต้อนรับ. นักศึกษาเทียบโอนความรู้ และประสบการณ์ ทุกท่าน. ด้วยความยินดียิ่ง. การเทียบโอนผลการเรียนรู้ ( R ecognition of P rior L earning : RPL ).
E N D
การปฐมนิเทศ นักศึกษาเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ รุ่นที่ 8 ปีการศึกษาที่ 1/2553 วิทยาลัยการอาชีพเชียงราย
วิทยาลัยการอาชีพเชียงรายวิทยาลัยการอาชีพเชียงราย ยินดีต้อนรับ นักศึกษาเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ทุกท่าน ด้วยความยินดียิ่ง
การเทียบโอนผลการเรียนรู้(Recognition of Prior Learning : RPL)
เป็นการเทียบประสบการณ์เข้าสู่หน่วยกิต ช่วยแก้ปัญหาให้ผู้ประกอบอาชีพพัฒนาสมรรถนะตน จนได้วุฒิ ปวช.หรือ ปวส.ที่มีมาตรฐานแต่ละสาขาวิชาอย่างชัดเจนในระยะเวลาที่น้อยกว่านักเรียน นักศึกษาปกติ ที่ศึกษาในระบบเพียงอย่างเดียว การเทียบโอนผลการเรียนรู้(Recognition of Prior Learning)
- การเทียบโอนความรู้- การเทียบโอนประสบการณ์- การเทียบโอนผลการเรียน- การเทียบระดับการศึกษา เทียบโอน อะไรบ้าง ?
ข้อดีการเทียบโอนผลการเรียนรู้ข้อดีการเทียบโอนผลการเรียนรู้ - มีงานทำ - เรียนต่อ - เป็นผู้ประกอบการรายย่อย - เลื่อนตำแหน่งหน้าที่สูงขึ้น - พัฒนาความรู้ ความสามารถ - อื่น ๆ • - ลดการเรียนซ้ำ • - ประหยัดค่าใช้จ่าย • - ลดเวลาการเดินทาง • - เลือกเรียนได้ตามความต้องการ • - นายจ้าง / คนงาน พึงพอใจทั้งคู่ • ไม่ต้องเสียเวลา และค่าใช้จ่าย • ฝึกอบรมคนใหม่
ผู้ขอรับการประเมิน • นักเรียน นักศึกษา ปวช. หรือ ปวส. ในสถานศึกษา • ผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ (>= 3 ปี)
คุณสมบัตินักเรียน นักศึกษา ที่ขอรับการประเมิน • เรียน ปวช. หรือ ปวส. ในสถานศึกษา • มีพื้นความรู้และประสบการณ์ในรายวิชา/กลุ่ม วิชาที่ขอประเมิน • มีหลักฐานที่แสดงถึงความรู้และประสบการณ์
คุณสมบัติผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์คุณสมบัติผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ • มีประสบการณ์งานอาชีพ • ฝึกงานในสถานฝึกอาชีพ อย่างน้อย 3 ปี • ทำงานในอาชีพนั้น • มีความรู้ในรายวิชาตามหลักสูตรก่อนเข้าเรียน
เงื่อนไขการขอรับการประเมินเงื่อนไขการขอรับการประเมิน • ขอประเมินเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ไม่เกิน 2 ใน 3 ของหน่วยกิตตามโครงสร้าง หลักสูตร • ผู้ที่ประเมินแล้วไม่ผ่านเกณฑ์ สามารถลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนนั้น หรือ ขอรับการประเมินใหม่ในภาคเรียนต่อไป
ขั้นตอนการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ขั้นตอนการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ หน้าที่นักเรียนนักศึกษา • นักเรียนนักศึกษายื่นคำร้อง • รับการประเมินเบื้องต้น • ลงทะเบียนเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ • นักเรียนนักศึกษาเข้ารับการประเมิน
ขั้นตอนการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ขั้นตอนการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ หน้าที่สถานศึกษา • ตั้งคณะกรรมการประเมินเบื้องต้น • ตั้งคณะกรรมการประเมินความรู้ประสบการณ์ • รับลงทะเบียนเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ • ประเมินนักเรียนนักศึกษาใช้วิธีและเครื่องมือที่หลากหลาย • พิจารณาตัดสินผลการประเมินมีต่ำกว่าร้อยละ 50 ในแต่ละวิชา
วิธีการประเมิน • การประเมินเบื้องต้น • การประเมินความรู้และประสบการณ์ • การให้ค่าระดับผลการประเมิน • การประเมินเป็นกลุ่ม / รายบุคคล
การประเมินเบื้องต้น • การสัมภาษณ์เบื้องต้น - ความรู้ /ทักษะ ประสบการณ์ ผลงาน ฯ • หลักฐานจากทางราชการ / สถานประกอบการ เช่น วุฒิบัตร เกียรติบัตร หนังสือรับรอง การเป็นผู้บรรยาย หรือวิทยากร รูปถ่ายกิจกรรม/ผลงาน
หลักฐานการประเมิน - ถ้าเป็นภาคเอกชน ต้องประกอบการถูกต้องตามกฎหมาย - หลักฐานอายุไม่เกิน 5 ปีนับถึงวันขอประเมิน หรืออยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษา - รายวิชาที่จำนวนชั่วโมงปฏิบัติงาน/ฝึกอบรม ไม่น้อยกว่าจำนวนชั่วโมงของรายวิชาในหลักสูตร - มีสมรรถนะหรือเนื้อหาสาระที่สอดคล้อง กับรายวิชา/กลุ่มวิชา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียน • แบบทดสอบปากเปล่า ( Oral Test ) • แบบทดสอบข้อเขียน ( Paper and Pencil Test ) • แบบทดสอบภาคปฏิบัติ ( Performance Test )
ข้อสอบแบบเลือกตอบ • แบบหลายตัวเลือก (Multiple Choices ) • แบบถูก - ผิด ( True - False ) • แบบจับคู่ ( Matching ) • แบบตีความ ( Interpretive Exercise )
ข้อสอบแบบเขียนตอบ • แบบตอบสั้นๆ ( Short Answer ) • แบบความเรียงจำกัดคำตอบ ( Essay : Restricted Response ) • แบบความเรียงไม่จำกัดคำตอบ ( Essay : Extended Response )
การตัดสินผลการประเมินการตัดสินผลการประเมิน • ตัดสินผลการประเมินเป็นรายวิชา • ต้องได้คะแนนจากการประเมินไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 • ประเมินทฤษฎี ปฏิบัติ หรือทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ • เวลาที่ใช้ในการประเมินไม่น้อยกว่าเวลาเรียน/สัปดาห์ สำหรับรายวิชา หรือ อยู่ในดุลพินิจ • ค่าระดับผลการประเมินใช้ตามระเบียบการประเมินฯ
เงื่อนไขการเทียบโอนผลการเรียนเงื่อนไขการเทียบโอนผลการเรียน • ยื่นคำร้องขอเทียบโอนในภาคเรียนที่ ขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา • แต่งตั้งคณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน • ต้องศึกษาในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนไม่ น้อยกว่า 1 ภาคเรียน
เงื่อนไขการเทียบโอนผลการเรียนเงื่อนไขการเทียบโอนผลการเรียน • อายุผลการเรียนที่จะนำมาเทียบโอนให้อยู่ใน ดุลพินิจของกรรมการ • ผลการเรียนที่ได้รับการเทียบโอนให้คงเดิม หรือผลการประเมินใหม่แต่ไม่สูงกว่าเดิม • สถานศึกษาเป็นผู้ อนุมัติผลการเทียบโอน
วิธีการเทียบโอนผลการเรียนวิธีการเทียบโอนผลการเรียน • หลักสูตรเดียวกัน - รับโอนทุกรายวิชา - ระดับผลการเรียน 1 จะรับโอน หรือ ประเมินใหม่ก่อนรับโอน
วิธีการเทียบโอนผลการเรียนวิธีการเทียบโอนผลการเรียน • หลักสูตรอื่นที่มีลักษณะเดียวกัน หรือ หลักสูตรอื่น ๆ - รายวิชา/กลุ่มวิชาที่มีจุดประสงค์และเนื้อหา ใกล้เคียงกันไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 60 - จำนวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่าหน่วยกิตของรายวิชาที่รับโอน - ได้ระดับผลการเรียนตั้งแต่ 2 ขึ้นไป อาจรับโอนหรือ ประเมินใหม่
การจัดทำแผนการสอนการประเมินการจัดทำแผนการสอนการประเมิน • ลักษณะกิจกรรม เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม • เรียนรู้โดยคิดและปฏิบัติจริง • เรียนรู้ร่วมกัน • งานปฏิบัติกำหนดจากสถานการณ์จริง / ใกล้เคียง • จัดประสบการณ์ก่อให้เกิดการบูรณาการความรู้ เน้นการคิดซับซ้อน • จัดประสบการณ์ที่มีความหมายนำไปใช้ได้ในชีวิตจริง
สร้างงานและมาตรฐาน สะท้อนตนเอง นำไปใช้ในชีวิตจริง บูรณาการความรู้ มีความหมาย ประเมินต่อเนื่อง ประเมินหลายวิธี ผลงานมีคุณภาพ เน้นการคิดซับซ้อน เน้นปฏิสัมพันธ์ทางบวก ลักษณะงาน/กิจกรรมการเรียนรู้
โครงการ / โครงงาน งานสถานการณ์จำลอง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ บันทึกประจำวัน บันทึกจากทัศนศึกษา งานที่ร่วมกันทำ งานตกแต่ง บันทึกผลการอภิปราย วีดิทัศน์ /การปฏิบัติ งานจริง กิจกรรมและวิธีการรวบรวมข้อมูล
แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ การประเมินตนเอง แบบทดสอบ การสังเกต การประเมินจากเพื่อน เครื่องมือและวิธีการรวบรวมข้อมูล
การจัดทำแผนการสอนการประเมินการจัดทำแผนการสอนการประเมิน • ครู อาจารย์ และผู้เรียน ร่วมกันกำหนดสิ่งที่ควรบันทึกและเก็บไว้เป็นหลักฐานสำหรับประเมินผู้เรียน • ตามสภาพจริง เช่น • ผลการเรียนรู้ • ผลงานพร้อมกระบวนการ (ถ้ามี) • เกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจน
การเรียนการสอนปกติ (+ทวิภาคี) การเรียนการสอน อาชีวศึกษาผ่านระบบเครือข่าย เวลาเรียน ตามเกณฑ์ การใช้หลักสูตร วิธีการสามารถปรับได้ตามความเหาะสม สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่มีงานทำ วิธีการจัดการเรียนการสอน
การวางแผนจัดแผนการเรียน(จำนวนคาบเรียน)รายวิชาที่ประเมินไม่ผ่าน และ 1/3 (ที่เหลือ) • จันทร์ – ศุกร์ :5 วัน x 4 ชั่วโมง = 20 ชั่วโมง x 18 สัปดาห์( 1 ภาคเรียน ) • เสาร์ – อาทิตย์ : 2 วัน x 8 ชั่วโมง = 16 ชั่วโมง x 18 สัปดาห์( 1 ภาคเรียน )
หลักการของหลักสูตร ปวส. 2546 พ.ศ.2547 • มุ่งผลิตและพัฒนาแรงงานระดับผู้ชำนาญการเฉพาะสาขาอาชีพตามความต้องการของตลาดแรงงานทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ • เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนตามความถนัด ความสามารถ และความสนใจ • เปิดโอกาสให้สถานศึกษาจัดวิธีเรียน วิธีสอนที่หลากหลายสอดคล้องกับสภาพและความต้องการของผู้เรียนและท้องถิ่น • เปิดโอกาสให้มีการถ่ายโอนความรู้และทักษะ โดยให้มีการถ่ายโอนผลการเรียน การเทียบความรู้ และประสบการณ์จากแหล่งวิทยาการ สถานประกอบการและสถานประกอบอาชีพอิสระ • เปิดโอกาสให้สถานศึกษา ชุมชน ท้องถิ่น ทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการศึกษา
โครงสร้างหลักสูตร ปวส. 2546ประเภทวิชาบริหารธุรกิจสาขาวิชาการจัดการทั่วไป 1. หมวดวิชาสามัญ ไม่น้อยกว่า21 นก. 1.1 วิชาสามัญทั่วไป (13 นก.) 1.2 วิชาสามัญพื้นฐานวิชาชีพ (ไม่น้อยกว่า 8 นก.) 2. หมวดวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 58 นก. 2.1 วิชาชีพพื้นฐาน (ไม่น้อยกว่า 15 นก.) 2.2 วิชาชีพสาขาวิชา (ไม่น้อยกว่า 24 นก.) 2.3 วิชาชีพสาขางาน (ไม่น้อยกว่า 15 นก.) 2.4 โครงการ (4 นก.) 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 นก. 4. ฝึกงาน (ไม่น้อยกว่า 1 ภาคเรียน) 5. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (ไม่น้อยกว่า 120 ชม.) รวมไม่น้อยกว่า 85 นก. 3
3000-2005 –> 2008 กิจกรรม(จัดโดยสถานประกอบการ/สถานศึกษา) จุดประสงครายวิชา เพื่อให 1. รูจักการวางแผนจัดทําโครงการ สามารถเขียนบันทึกรายงาน เสนอแนะใหความเห็น สรุปกิจกรรมโครงการ ประเมินผลตัดสินการแขงขัน และประกวดกิจกรรมตาง ๆ ที่จัดขึ้นได 2. เกิดความรับผิดชอบ ตรงตอเวลา มีความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย มีบุคลิกภาพที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมทั้งในการประกอบอาชีพและการดํารงชีวิตประจําวัน
3000-2005 –> 2008 กิจกรรม(จัดโดยสถานประกอบการ/สถานศึกษา) มาตรฐานรายวิชา 1. สามารถวางแผนจัดทําโครงการได 2. เขียนรายงาน เสนอแนะใหความเห็นสรุปกิจกรรมโครงการได 3. สามารถตัดสินการแขงขัน และประกวดกิจกรรมตาง ๆ ได 4. มีความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย คําอธิบายรายวิชา ใหสถานประกอบการ / สถานศึกษาจัดกิจกรรมตามความเหมาะสมของสภาพและเงื่อนไขของตนเอง เพื่อพัฒนากิจนิสัยผูเรียนใหบรรลุจุดประสงครายวิชา
เอกสารในแฟ้มสะสมผลงานเอกสารในแฟ้มสะสมผลงาน • ใบสมัครติดรูปถ่ายเรียบร้อยแล้ว • สำเนาวุฒิการศึกษา • สำเนาทะเบียนบ้าน • เอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียน เช่น วุฒิบัตร เกียรติบัตร • บัตรเจ้าหน้าที่ต่าง ๆ • รูปภาพกิจกรรม หรือผลงาน ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง • (นำเอกสารฉบับจริงมาให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบด้วย)
เอกสารในแฟ้มสะสมผลงานเอกสารในแฟ้มสะสมผลงาน • แผนการเรียนประจำตัว • เอกสารชำระเงินค่าลงทะเบียนเรียน • เอกสารการลงทะเบียน • ใบคำร้องขอผ่อนผันค่าลงทะเบียนเรียน (กรณีขอผ่อนผัน) • เอกสารคำอธิบายรายวิชาตามหลักสูตรที่กำหนด • บันทึกการประชุมร่วมกับครูที่ปรึกษาเพื่อนัดหมายต่างๆ • เอกสารการเรียนในบางวิชาที่เตรียมมา
หลักฐานแสดงความรู้และประสบการณ์หลักฐานแสดงความรู้และประสบการณ์ 1) บันทึกประจำวัน ที่แสดงถึงสิ่งที่ผู้สมัครทำเป็นประจำวันทั้งที่บ้าน สถานประกอบการ ฯลฯ 2) แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) โดยรวบรวมเอกสาร ภาพถ่าย สำเนาเกียรติบัตร วุฒิบัตรจากการศึกษาทั้งในหรือนอกประเทศ การอบรมระยะสั้น รางวัลต่าง ๆ ที่เคยได้รับ 3) หนังสือรับรอง จากนายจ้าง/บุคคลที่เคยทำงานด้วย ชุมชน ซึ่งแสดงถึงการมีความรู้ ทักษะ ความสามารถในด้านอาชีพ
หลักฐานแสดงความรู้และประสบการณ์หลักฐานแสดงความรู้และประสบการณ์ 4) คนรู้จักที่ผู้สมัครสามารถอ้างอิงได้ 5) ชิ้นงานหรือผลงานดีเด่นด้านวิชาการ วิชาชีพ ฯลฯ 6) ผลตอบแทนทางธุรกิจ (ถ้ามี) ผู้รับสมัคร หรือผู้ประสานงานการเทียบความรู้ และประสบการณ์ ต้องตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานที่ผู้ขอเทียบนำมาแสดงให้ถูกต้อง
ผู้ที่สามารถติดต่อสอบถามได้ผู้ที่สามารถติดต่อสอบถามได้ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการนางสาวอรพิน ดวงแก้วโทร. 08-1603-0908 งานเทียบโอนความรู้และประสบการณ์โทร. 08-6430-3363 ครูสมชาย เมืองมาโทร. 08-6431-4747