210 likes | 448 Views
การเขียนบทความทางวิชาการ (๒). วางโครงเรื่อง ( Organise Your Material ). การวางโครงเรื่อง ( Organise Your Material. การวางโครงเรื่องเป็นขั้นตอนสำคัญของการเขียนบทความทุกประเภท รวมทั้งบทความวิชาการและบทความวิจัย การวางโครงเรื่อเป็นกาจัดระบบความคิดของเราให้ชัดเจนก่อนลงมือเขียน.
E N D
วางโครงเรื่อง (Organise Your Material)
การวางโครงเรื่อง (Organise Your Material • การวางโครงเรื่องเป็นขั้นตอนสำคัญของการเขียนบทความทุกประเภท รวมทั้งบทความวิชาการและบทความวิจัย • การวางโครงเรื่อเป็นกาจัดระบบความคิดของเราให้ชัดเจนก่อนลงมือเขียน
การวางโครงเรื่อง • บทความที่ดี มาจาการจัดระบบความคิดที่ดี (good organise) ที่มีโครงสร้างสอดคล้องกัน ซึ่งไม่เพียงแต่ช่วยให้เราเขียนได้ง่ายขึ้น แต่ยังช่วยให้คนอ่านเข้าใจเนื้อหาที่เราเขียนมากขึ้น • หลังจากรวบรวมความคิดทั้งหมดแล้ว คือการตัดสินใจว่าจะเรียงลำดับความคิดเหล่านั้นอย่างไร (อะไรมาก่อน มาหลัง) • พยายามทำให้ผู้อ่านรู้ว่าเราจะเปลี่ยนจากประเด็นหนึ่งไปสู่ประเด็นอื่นอย่างไร Organise Your Material
การวางโครงเรื่อง • สิ่งสำคัญในการวางโครงเรื่องก็คือ เราต้องแสดงให้เห็นว่าความคิดหลัก (main ideas) ของเราคืออะไร และมีความมั่นใจว่าสามารถหาหลักฐาน ข้อมูล มาสนับสนุนได้ • การวางโครงเรื่องจะช่วยให้เรามองเห็นภาพของบทความทั้งหมดได้ว่ามีหน้าตาเป็นอย่างไร • การวางโครงเรื่องช่วยให้เราพัฒนาบทความที่เขียนได้ชัดเจนและดีขึ้น • การวางโครงเรื่องเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อการเขียนงานทางวิชาการเป็นอย่างมาก Organise YourMaterial
การวางโครงเรื่องOrganise Your Material • การวางโครงเรื่องในบทความวิชาการและบทวิจัยจะทำในส่วนที่เป็นเนื้อเรื่อง เพราะส่วนอื่นๆ เป็นองค์ประกอบที่กำหนดตายตัวอยู่แล้ว
การวางโครงเรื่อง • ส่วนเนื้อเรื่องของบทความ จะมีจุดประสงค์ของการศึกษา/วิจัย ซึ่งมาจากโจทย์วิจัยที่ผู้เขียนกำหนดไว้ • การวางโครงเรื่องจะเริ่มจากตรงนี้ โครงเรื่อง คือแผนที่ของความคิด
ตัวอย่าง ตัวแบบของการวางโครงเรื่อง
ตัวอย่างการวางโครงเรื่อง บทความ “ โมราฯ หญิงเลวกลางป่าลึกฯ”
กิจกรรมที่ ๒ ฝึกวางโครงเรื่อง • ให้แต่ละกลุ่ม นำหัวข้อหรือประเด็นที่เลือกได้แล้ว มาพัฒนาเป็นโครงเรื่อง ตามแนวทางที่ให้ไว้ โดยให้ครอบคลุมโครงสร้าง ๓ ส่วน คือ บทนำ เนื้อเรื่องและบทสรุป
๒. การเขียนฉบับร่างDraft Your Article
การเขียนต้นฉบับร่างแรกการเขียนต้นฉบับร่างแรก • การเขียนต้นฉบับร่างแรก เป็นขั้นตอนสำคัญในการเขียนบทความวิชาการ เพราะถือเป็นจุดเริ่มต้นในการเขียนอย่างจริงจัง • มีวิธีการหลายอย่างในการเขียนต้นฉบับร่างแรก • แนวทางที่สำคัญคือเราต้องเตรียมให้พร้อมก่อนลงมือเขียน Writing the First Draft
ขั้นตอนการเขียนต้นฉบับร่างแรกขั้นตอนการเขียนต้นฉบับร่างแรก
การเขียนบทนำ The Introduction
การเขียนบทนำ • เริ่มด้วยประโยคข้อความสำคัญที่น่าสนใจที่โยงกับหัวข้อที่จะเขียน หรืออาจอ้างอิงคำพูดเด่นๆ จากนักวิชาการคนอื่นและเกี่ยวข้องกับหัวข้อของเรา • กล่าวถึงความเป็นมา ความน่าสนใจของหัวข้อของเราโดยสังเขป • เน้นให้เห็นความสำคัญและน่าสนใจของหัวข้อที่เราจะเขียน ๑. สร้างความสนใจให้แก่ผู้อ่านด้วยการ : `
การเขียนบทนำ • ให้ข้อมูลความเป็นมาของหัวข้อ นิยามศัพท์หรือเรื่องที่คิดว่าจำเป็นที่ผู้อ่านต้องเข้าใจ อย่าคิดว่าผู้อ่านรู้มาก่อนแล้ว • ใ้หข้อมูลเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีแหล่งข้อมูลที่จะใช้ในการศึกษา วัตถุประสงค์ตลอดจนวิธีการศึกษาโดยคร่าวๆ • นำเสนอทัศนะของเราที่มีต่อหัวข้อนี้เพื่อโยงไปสู่เนื้อหาต่อไป 2. ให้ข้อมูลที่จำเป็นเกี่ยวกับหัวข้อ เช้นภูมิหลัง นิยามศัพท์ รวมทั้งจุดมุ่งหมายของบทความ
ตัวอย่างบทนำ • นอกจากมิติทางจิตวิทยาแล้วการฆ่าตัวตายยังมีมิติในเชิงสังคมและวัฒนธรรม ด้วย บทความน้ีเป็นการนําเสนอปรากฏการณ์การฆ่าตัวตายในมุมมองทางสังคมวิทยา อย่างไรก็ตามเราไม่สามารถละเลยท่ีจะพิจารณาปรากฏการณ์น้ีเชื่อมโยงกับบริบททาง ประเพณีวัฒนธรรมของแต่ละสังคมด้วย และเพ่ือให้เกิดความเข้าใจสิ่งที่กระตุ้นให้เกิด การฆ่าตวัตายผเู้ขียนไดน้ําแนวคิดเก่ยีวกับการฆ่าตัวตายของอมีิลเดอรไ์คม์(Emile Durkheim)มาเปน็กรอบในการวเิคราะห์โดยใช้สงัคมอินเดีย,เอสกโิมและเมลานีเซีย เป็นตัวอย่างในการแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างการฆ่าตัวตายกับค่านิยม ทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะสังคมเอสกิโมและเมลานีเซียเป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึง ปรากฏการณก์ ารฆา่ ตวั ตายของสงั คมดงั้ เดมิ สว่ นผลกระทบของศาสนาตอ่ การฆา่ ตวั ตาย กรณีของโจนส์ทาวน์ (Jonestown) จะเป็นตัวอย่างสําหรับการวิเคราะห์วิจารณ์ใน บทความนี้