1 / 30

1. ผู้มีอำนาจจับ 2. เหตุต่างๆในการจับ 3. การจับในที่รโหฐาน 4. วิธีปฏิบัติในการจับ

การจับ. 1. ผู้มีอำนาจจับ 2. เหตุต่างๆในการจับ 3. การจับในที่รโหฐาน 4. วิธีปฏิบัติในการจับ. ผู้ที่มีอำนาจจับ. 1. พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ม.78. 2. ราษฎร (ม.79 ,82.117). การจับโดยเจ้าพนักงานฝ่ายปกครอง หรือตำรวจ. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.25 5 0 มาตรา 32 ว. 3

kyros
Download Presentation

1. ผู้มีอำนาจจับ 2. เหตุต่างๆในการจับ 3. การจับในที่รโหฐาน 4. วิธีปฏิบัติในการจับ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจับ 1. ผู้มีอำนาจจับ 2. เหตุต่างๆในการจับ 3. การจับในที่รโหฐาน 4. วิธีปฏิบัติในการจับ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  2. ผู้ที่มีอำนาจจับ 1. พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ม.78 2. ราษฎร (ม.79 ,82.117) กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  3. การจับโดยเจ้าพนักงานฝ่ายปกครอง หรือตำรวจ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 32 ว.3 บัญญัติว่า “การจับและการคุมขังบุคคล จะกระทำมิได้ เว้นแต่มีคำสั่งหรือ หมายของศาลหรือมีเหตุอย่างอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ” มาตรา 33 ว.3 “การเข้าไปในเคหสถานโดยปราศจากความยินยอมของผู้ครอบ ครองหรือการตรวจค้นเคหสถานหรือในที่รโหฐาน จะกระทำมิได้ เว้นแต่ มีคำสั่งหรือหมายของศาล หรือมีเหตุอย่างอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ” กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  4. ป.วิ.อ. ม. 78 • “พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจจะจับผู้ใดโดยไม่มีหมายจับ • หรือคำสั่งของศาลนั้นไม่ได้เว้นแต่ • (1) เมื่อบุคคลนั้นได้กระทำความผิดซึ่งหน้าดังได้ • บัญญัติไว้ใน มาตรา 80 • (2) เมื่อพบบุคคลใดโดยมีพฤติการณ์อันควรสงสัย • ว่าผู้นั้นน่าจะก่อเหตุร้ายให้เกิดภยันตรายแก่บุคคลหรือ • ทรัพย์สินของผู้อื่น โดยมีเครื่องมือ อาวุธ หรือวัตถุอย่าง • อื่นอันสามารถใช้ในการกระทำความผิด • (3) เมื่อมีเหตุที่จะออกหมายจับบุคคลนั้นตาม • มาตรา 66(2)แต่มีความจำเป็นเร่งด่วนที่ไม่อาจขอให้ศาล • ออกหมายจับบุคคลนั้นได้ • (4)เป็นการจับผู้ต้องหาหรือจำเลยที่หนีหรือจะหลบหนี • ในระหว่างถูกปล่อยชั่วคราวตาม มาตรา 117” กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  5. กรณีที่เจ้าพนักงานจับได้โดยไม่ต้องมีหมายกรณีที่เจ้าพนักงานจับได้โดยไม่ต้องมีหมาย กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  6. กรณีแรก เมื่อผู้นั้นได้กระทำผิดซึ่งหน้าตาม ป.วิ.อ. มาตรา 78 (1) และมาตรา 80 ซึ่งความผิดซึ่งหน้านั้นมี 2 ประเภท ก. ความผิดซึ่งหน้าอย่างแท้จริง ได้แก่ • 1. ความผิดที่เห็นกำลังกระทำ คือ เกิดขึ้นต่อหน้า • เจ้าพนักงาน หรือ • 2. พบในอาการใดซึ่งแทบจะไม่มีความสงสัยเลยว่าเขา • ได้กระทำผิดมาแล้วสดๆ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  7. ข. กรณีที่กฎหมายให้ถือว่าเป็นความผิดซึ่งหน้า ได้แก่ กรณีดังต่อไปนี้ ซึ่งมีหลักเกณฑ์ดังนี้ 1. เป็นความผิดที่ระบุไว้ในบัญชีท้ายประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  8. 2. .มีพฤติการณ์ดังต่อไปนี้ • 2.1 มีบุคคลถูกไล่จับดั่งผู้กระทำความผิด โดย • มีเสียงร้องเอะอะ หรือ 2.2 เมื่อพบบุคคลแทบจะทันทีทันใดหลังจากการ กระทำผิดในถิ่นแถวใกล้เคียง และ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  9. 2.2.1. มีสิ่งของที่ได้มาจากการกระทำผิด หรือ 2.2.2. มีเครื่องมือ อาวุธ หรือวัตถุอย่างอื่นอันสันนิษฐาน ได้ว่าได้ใช้กระทำความผิด หรือ 2.2.3. มีร่องรอยพิรุธเห็นเป็นประจักษ์ที่เสื้อผ้า หรือ เนื้อตัวของผู้ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  10. กรณีที่สอง ตามป.วิ.อ. มาตรา 78 (2) “เมื่อพบบุคคลใดโดยมีพฤติการณ์อันควรสงสัยว่าผู้นั้นน่า จะก่อเหตุร้ายให้เกิดภยันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินของผู้อื่น โดย มีเครื่องมือ อาวุธ หรือวัตถุอย่างอื่นอันสามารถอาจใช้ในการกระทำ ความผิด” กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  11. การจับในมาตรานี้ต้องปรากฏพฤติการณ์ดังต่อไปนี้ 1. พบบุคคลใดโดยมีพฤติการณ์อันควรสงสัยว่าผู้นั้นน่า จะก่อเหตุร้ายให้เกิดภยันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์สินของผู้อื่น เหตุในการจับโดยไม่ต้องมีหมายจับ ในกรณีนี้ คือ “พฤติการณ์อันควรสงสัยว่าจะก่อเหตุร้ายขึ้น” กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  12. 2. บุคคลนั้นมีเครื่องมือ อาวุธ หรือวัตถุอย่างอื่นอันสามารถ อาจใช้ในการกระทำความผิด ป.วิ.อ. มาตรา 93 “ห้ามมิให้ทำการค้นบุคคลใดในที่สาธารณสถาน เว้นแต่พนักงาน ฝ่ายปกครองหรือตำรวจเป็นผู้ค้นในเมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่าบุคคล นั้นมีสิ่งของในความครอบครองเพื่อจะใช้ในการกระทำความผิด หรือ ซึ่งได้มาโดยการกระทำความผิดหรือซึ่งมีไว้เป็นความผิด” กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  13. -พนักงานสอบสวนสามารถควบคุมตัวบุคคลนั้นได้ ไม่เกิน 48 ชั่วโมง ตาม พ.ร.บ.ให้ใช้ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.2499 ม.7 ประกอบกับ ป.อ. ม.46 -ศาลมีอำนาจสั่งให้ผู้นั้นให้ทำทัณฑ์บน ได้ตาม ป.อ.ม.46 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  14. กรณีที่สาม ตามป.วิ.อ. มาตรา 78(3) “เมื่อมีเหตุที่จะออกหมายจับบุคคลนั้นตามมาตรา 66(2) แต่มีความจำเป็นเร่งด่วนที่ไม่อาจขอให้ศาลออกหมายจับบุคคลนั้นได้” กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  15. 1. มีเหตุที่จะออกหมายจับบุคคลนั้นได้ตาม ป.วิ.อ.มาตรา 66(2) และ 2. มีความจำเป็นเร่งด่วนที่ไม่อาจขอให้ศาลออกหมายจับบุคคล นั้นได้ กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  16. ป.วิ.อ. มาตรา 66 “เหตุที่จะออกหมายจับได้มีดังต่อไปนี้ • (1) ........ • (2) เมื่อมีหลักฐานตามสมควรว่าบุคคลใดน่าจะได้ • กระทำความผิดอาญาและมีเหตุอันควรเชื่อว่าจะหลบหนี หรือ • จะไปยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐาน หรือก่อเหตุอันตรายประการอื่น • ถ้าบุคคลนั้นไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง หรือไม่มาตามหมายเรียก • หรือตามนัดโดยไม่มีข้อแก้ตัวอันควรให้สันนิษฐานว่าบุคคลนั้นจะหลบ • หนี” กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  17. ความจำเป็นเร่งด่วน ได้แก่ ถ้าดำเนินการให้ขอศาล ออกหมายจับ จะทำให้ 1. บุคคลที่จะถูกจับนั้นหนีไปได้ 2. บุคคลที่จะถูกจับนั้นไปยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐาน 3. บุคคลที่จะถูกจับนั้นไปก่อเหตุอันตราย กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  18. กรณีที่สี่ ตามป.วิ.อ. มาตรา 78 (4) “เป็นการจับผู้ต้องหา หรือจำเลยที่หนี หรือจะหลบหนีใน ระหว่างถูกปล่อยชั่วคราวตามมาตรา 117” ป.วิ.อ.มาตรา 117 “เมื่อผู้ต้องหาหรือจำเลยหนีหรือจะหลบหนี ให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจที่พบการกระทำดังกล่าวมีอำนาจ จับผู้ต้องหาหรือจำเลยนั้นได้ ......” กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  19. ผู้ที่มีอำนาจจับ 1. พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ม.78 2. ราษฎร (ม.79 ,82.117) -ม.79 ความผิดซึ่งหน้า -ม.82 จับตามคำขอให้ช่วยเหลือจาก จ.พ.ง -ม.117 นายประกันจับ ผู้ต้องหา หรือจำเลย กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  20. การจับโดยราษฎร มาตรา 79 “ราษฎรจะจับผู้อื่นไม่ได้ เว้นแต่จะเข้าอยู่ในเกณฑ์แห่ง มาตรา 82 หรือเมื่อผู้นั้นกระทำความผิดซึ่งหน้าและความผิดนั้น ได้ระบุไว้ในบัญชีท้ายประมวลกฎหมายนี้ด้วย” กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  21. 1. เป็นการกระทำความผิดซึ่งหน้าตาม ป.วิ.อ. มาตรา 80 • 2. เจ้าพนักงานผู้จัดการตามหมายจับขอความช่วยเหลือให้จับ • มาตรา 82 3. นายประกัน หรือผู้เป็นหลักประกันจับผู้ต้องหา หรือจำเลยที่ หนีหรือจะหลบหนี ตามเงื่อนไขใน ป.วิ.อ. มาตรา 117 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  22. 1. เป็นการกระทำความผิดซึ่งหน้าตาม ป.วิ.อ. มาตรา 80 • เป็นการกระทำความผิดซึ่งหน้าตาม ป.วิ.อ. มาตรา 80 • ไม่ว่าจะเป็นความผิดซึ่งหน้าโดยแท้ หรือเป็นความที่ • กฎหมายถือว่าเป็นความผิดซึ่งหน้า ข. ความผิดนั้นระบุไว้ในบัญชีท้าย ป.วิ.อ. กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  23. 2. เจ้าพนักงานผู้จัดการตามหมายจับขอความช่วยเหลือให้จับ • มาตรา 82 “เจ้าพนักงานผู้จัดการตามหมายจับ จะขอความช่วยเหลือจาก บุคคลใกล้เคียงเพื่อจัดการตามหมายนั้นก็ได้ แต่จะบังคับให้ผู้ใดช่วย โดยอาจเกิดอันตรายแก่เขานั้นไม่ได้” กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  24. 3. นายประกัน หรือผู้เป็นหลักประกันจับผู้ต้องหา หรือจำเลยที่ หนีหรือจะหลบหนี ตามเงื่อนไขใน ป.วิ.อ. มาตรา 117 “เมื่อผู้ต้องหาหรือจำเลยหนี หรือจะหลบหนี ............................ แต่ในกรณีที่บุคคลซึ่งทำสัญญาประกันหรือเป็นหลักประกันเป็นผู้พบ การกระทำดังกล่าว อาจขอให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจที่ใกล้ ที่สุดจับ ผู้ต้องหาหรือจำเลยได้ ถ้าไม่สามารถขอความช่วยเหลือจาก เจ้าพนักงานได้ทันท่วงที ก็ให้มีอำนาจจับผู้ต้องหา หรือจำเลยได้เอง .. ........” กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  25. มาตรา 112 “เมื่อปล่อยชั่วคราวโดยมีประกัน..................... (1) ผู้ถูกปล่อยชั่วคราว หรือผู้ประกัน ...จะปฏิบัติตามนัด หรือหมายเรียกของเจ้าพนักงาน หรือศาล.. (2) เมื่อผิดสัญญาจะใช้เงินจำนวนที่ระบุไว้.......” กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  26. มาตรา 116 “การขอถอนสัญญาประกัน หรือขอถอนหลักประกัน ย่อม ทำได้เมื่อผู้ทำสัญญามอบตัวผู้ต้องหา หรือจำเลยคืนต่อเจ้าพนัก- งานหรือศาล” กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  27. ข้อจำกัดในการจับในเรื่องสถานที่ข้อจำกัดในการจับในเรื่องสถานที่ 1. ห้ามมิให้จับในที่รโหฐาน ป.วิ.อ. มาตรา 81 “ไม่ว่าจะมีหมายจับหรือไม่ก็ตาม ห้ามมิให้จับในที่รโหฐาน เว้นแต่จะได้ทำตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี้อันว่าด้วยการ ค้นในที่รโหฐาน” หลัก ห้ามมิให้จับในที่รโหฐานเว้นแต่จะทำตามบทบัญญัติในประมวลกฎหมายนี้ว่าด้วยการ “ค้นในที่รโหฐาน” กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  28. โดยกรณีที่จะจับในที่รโหฐานได้ แก่ กรณีดังต่อไปนี้ • การค้นโดยมีหมายค้น ตาม ม.69 (4) “เหตุที่จะออกหมายค้น ได้มีดังต่อไปนี้ (1) ..................... (4) เพื่อพบบุคคลซึ่งมีหมายจับ” กรณีนี้ เจ้าพนักงานฯมีทั้งหมายจับ และหมายค้น กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  29. ข. เป็นกรณีที่สามารถค้นได้โดยไม่ต้องมีหมายตามมาตรา 92(1)-(5) ค. ผู้จับได้เข้าไปอยู่ในที่รโหฐานนั้นโดยชอบ เช่น ได้รับเชิญให้เข้าไป กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

  30. 2. ในพระบรมมหาราชวัง พระราชวัง มาตรา 81/1 “ไม่ว่าจะมีหมายจับหรือไม่ก็ตาม ห้ามมิให้จับในพระบรม มหาราชวัง พระราชวัง ......เว้นแต่ (1) นายกรัฐมนตรี...อนุญาตให้จับ...และได้แจ้งเลขาธิการ พระราชวัง ... (2)เจ้าพนักงานผู้ถวาย หรือให้ความปลอดภัย....เป็นผู้จับ” กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

More Related