160 likes | 341 Views
บทที่ 4 บทบาทของนวัตกรรม. ความสำคัญของ "นวัตกรรม". - ทำให้เกิดความคิดใหม่ ๆ. - เกิดผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ ๆ. - เกิดกระบวนการผลิตใหม่ ๆ. - เกิดผลดีต่อเศรษฐกิจและสังคม. - ญี่ปุ่นผลิตกุหลาบน้ำเงินสำเร็จ ใช้เทคโนโลยีชีวภาพดัดแปลงยีน.
E N D
บทที่ 4 บทบาทของนวัตกรรม ความสำคัญของ "นวัตกรรม" - ทำให้เกิดความคิดใหม่ ๆ - เกิดผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ ๆ - เกิดกระบวนการผลิตใหม่ ๆ - เกิดผลดีต่อเศรษฐกิจและสังคม
- ญี่ปุ่นผลิตกุหลาบน้ำเงินสำเร็จ ใช้เทคโนโลยีชีวภาพดัดแปลงยีน เครื่องผลิตไบโอดีเซลแก้ปัญหาพลังงาน-ลดการนำเข้าเทคโนโลยีต่างชาติ เครื่องถนอม ผัก-ผลไม้
ผลดีต่อเศรษฐกิจและสังคมผลดีต่อเศรษฐกิจและสังคม === ขีดความสามารถทางการแข่งขัน
ทำไมจึงต้องมี "นวัตกรรม" ? ศาสตราจารย์ อาเธอร์ คาร์ที (Arthur Carty) “งานวิจัยเป็นการใช้เงินเพื่อสร้างความรู้ แต่นวัตกรรมเป็นการเปลี่ยนความรู้ให้เป็นเงินทอง”
ทำไมจึงต้องมี "นวัตกรรม" ? ศาสตราจารย์ ไมเคิล พอร์เตอร์ (Michael Porter) “นวัตกรรมเป็นการก้าวไปสู่ความมั่งคั่งในปัจจุบันอีกก้าวหนึ่ง นวัตกรรมผลักดันให้มีการเติบโตของผลิตภาพในระยะยาว และความสามารถในการแข่งขันในอนาคต”
ตัวอย่างประเทศที่เน้นนโยบายด้านนวัตกรรมตัวอย่างประเทศที่เน้นนโยบายด้านนวัตกรรม ประเทศญี่ปุ่น ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศไต้หวัน ประเทศไทย
ประเทศญี่ปุ่น กระทรวงอุตสาหกรรมและการค้าระหว่างประเทศ (Ministry of International Trade and Industry (MITI)) ประเทศแคนาดา ปีคศ.1916 ได้ตั้งสภาวิจัยแห่งชาติ ประเทศเกาหลีใต้ Korea Institute of Science and Technology (KIST) Korea Advanced Institute of Science (KAIS)
ประเทศสหรัฐอเมริกา - หน่วยงานวิจัยรัฐฯ + เอกชน ประเทศไต้หวัน - SMEs OEM Reverse Engineering
ประเทศไทย - แผนพัฒนาเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ
แรงขับเคลื่อน 7 ประการในการ สร้างนวัตกรรมสำหรับเศรษฐกิจไทย (1) เชื่อมโยงพลังปัจจัยนวัตกรรมให้ครบวงจร การตลาด + การจัดการ + เงิน + เทคโนโลยี + Know How + การผลิต
แรงขับเคลื่อน 7 ประการในการสร้างนวัตกรรมสำหรับเศรษฐกิจไทย (2) ลดความเสี่ยงในกระแสการลงทุน เงินทุนจากสถาบันการเงิน - ธนาคาร - Venture Capital (VC) - และอื่น ๆ ที่ให้การสนับสนุน
แรงขับเคลื่อน 7 ประการในการสร้างนวัตกรรมสำหรับเศรษฐกิจไทย (3) เชื่อมโยงและถ่ายทอดขีดความสามารถทางเทคโนโลยี หน่วยงานของรัฐ ==> เอกชน - สกว., - วว. (4) จัดทำ shopping list หาผลงานวิจัยต่าง ๆ ที่มีศักยภาพ นักวิจัย ม.มหิดล พัฒนาระบบตรวจสอบคุณภาพอาหารอัจฉริยะ นาโนเซ็นเซอร์วัดคุณภาพอาหารแทนนักชิม
แรงขับเคลื่อน 7 ประการในการสร้างนวัตกรรมสำหรับเศรษฐกิจไทย (5) คัดสรร พัฒนา และสร้างการยอมรับโครงการเทคโนโลยี (6) สร้างความตื่นตัวและความกล้าในการสร้าง นวัตกรรมใหม่ ๆ - ปชส. , ให้ความรู้ประชาชน (7) เชื่อมโยงกลไก นโยบาย และองค์กรของรัฐ