210 likes | 333 Views
การพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคในชุมชนเพื่อการป้องกันโรคพิษสารกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกร ปลูกผักในตำบลลุ่มลำชี อำเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ ปี 2551. โดย. กัลยาณี จันธิมา จันทรกาญจน์ แสงรัตนชัย ทับทิม นิลเสน นันทนา แต้ประเสริฐ ภักวิภา งอกชัยภูมิ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา.
E N D
การพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคในชุมชนเพื่อการป้องกันโรคพิษสารกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกร ปลูกผักในตำบลลุ่มลำชี อำเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ ปี 2551 โดย กัลยาณี จันธิมาจันทรกาญจน์ แสงรัตนชัย ทับทิม นิลเสน นันทนา แต้ประเสริฐ ภักวิภา งอกชัยภูมิ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา
Problems of pesticide use in Thailand 1. Most pesticides are imported increasingly every years
การรายงานผู้ป่วยพิษจากสารกำจัดศัตรูพืช ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540 - 2549 มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในปี พ.ศ. 2550
โดยปีที่มีรายงานสูงที่สุดในปี พ.ศ. 2541 จำนวน 4,398 ราย อัตราป่วย 7.16 ต่อประชากรแสนคน อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.34 และรายงานผู้ป่วยต่ำสุดในปี พ.ศ. 2549 จำนวน 1,251 ราย อัตราป่วย 2.00 ต่อประชากรแสนคน ในปี พ.ศ. 2550 มีรายงานผู้ป่วย 1,452 ราย อัตราป่วย 2.31 ต่อประชากรแสนคน ปี พ.ศ. 2548 - 2550 ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต
คำถามการวิจัย ระบบเฝ้าระวังโรคที่เหมาะสมต่อการป้องกันควบคุมโรค พิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในพื้นที่เป็นอย่างไร
แผนที่เขตรับผิดชอบสถานีอนามัยโนนน้อย(โดยสังเขป)แผนที่เขตรับผิดชอบสถานีอนามัยโนนน้อย(โดยสังเขป) บ้านราษฎร์ยางชุม บ้านราษฎร์ยางชุม บ้านห้วยหวาย บ้านห้วยหวาย บ้านท่าแก บ้านท่าแก บ้านป่าสะแกราช บ้านป่าสะแกราช บึงโลโพ บึงโลโพ บ้านวังกุ่ม บ้านวังกุ่ม บ้านแผ่นดินทอง บ้านแผ่นดินทอง บ้านท่าแกทอง บ้านท่าแกทอง บ้านวังโพธิ์ทอง บ้านวังโพธิ์ทอง บ้าน ปากคันฉู บ้าน ปากคันฉู บ้านคลองโลโพ บ้านคลองโลโพ บ้านโนนน้อย บ้านโนนน้อย อำเภอบ้านเขว้า เขตรับผิดชอบสถานีอนามัยป่าไม้แดง บ้านวังกุ่ม อำเภอจัตุรัส
ด้านเศรษฐกิจ • อาชีพหลัก ทำการเกษตร ได้แก่ ทำนา,ปลูกพืชไร่และพืชสวน • อาชีพรอง การประมง, รับจ้าง • รายได้ต่อครัวเรือนเฉลี่ย > 25,000 บาท/ปี
เป็นการ วิจัยและพัฒนาระบบเฝ้าระวัง โดยอาศัยความมีส่วนร่วมของชุมชนในทุกขั้นตอน (Participatory action research) โดยโครงการวิจัยจะประกอบด้วยกระบวนการให้ความรู้แก่ชุมชน กระบวนการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวัง การนำระบบเฝ้าระวังที่พัฒนาได้ไปใช้ การประเมินระบบเฝ้าระวังที่พัฒนาขึ้น และการปรับปรุงระบบเฝ้าระวังให้มีคุณภาพมากขึ้น
กลุ่มประชากรที่ศึกษา สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มได้แก่ กลุ่มที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบ ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน กรรมการ อบต. ครู อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กรรมการหมู่บ้าน แกนนำครอบครัว กลุ่มสมาชิกต่างๆ ในหมู่บ้าน ผู้จำหน่ายสารกำจัดศัตรูพืช เกษตรกร ผู้ปลูกผัก และกลุ่มที่จะมีส่วนร่วมในการนำระบบที่พัฒนาได้ไปดำเนินการ ได้แก่ อสม. กรรมการหมู่บ้าน แกนนำครอบครัว ประชาชน อบต. และเจ้าหน้าที่ สถานีอนามัย
ตารางที่ 2 สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่จำหน่ายในร้านค้าในหมู่บ้าน จำแนกตามระดับความเป็นพิษ
* เป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 4 (ห้ามจำหน่าย) และจัดระดับอันตรายชั้น 1 บี(Ib) มีพิษร้ายแรงสูง ** สารกำจัดศัตรูพืช ระดับ 1a พิษร้ายแรงมาก *** สารกำจัดศัตรูพืช ระดับ 1b พิษร้ายแรง
ชื่อ................................................. ...........เพศ ............. อายุ...........................ปี อาชีพ............................................................ ที่อยู่บ้านเลขที่..............หมู่...................... ต.โนนน้อย อ.บ้านเขว้า จ. ชัยภูมิ วันที่มีอาการ............................................................ปัจจัยที่สัมผัส...................................................แหล่ง........................................ แผนภาพที่ 1 แบบฟอร์มเก็บข้อมูลเฝ้าระวังโรคพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
อาการที่ประชาชนสนใจอยากจะเฝ้าระวังที่สำคัญได้แก่ อ่อนเพลีย เวียนศีรษะ ตาลาย คลื่นไส้ อาเจียน ผื่นคัน เป็นต้น และการจัดตั้งระบบเฝ้าระวังโรคในชุมชนโดยชุมชนจัดการเองทั้งหมดคงต้องใช้เวลาเพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้าใจสภาพปัญหาและสนับสนุนจัดหางบประมาณในการดำเนินงานแก่ชุมชน หากจะดำเนินการในช่วงนี้หน่วยงานภาครัฐยังคงเป็นแกนหลักในการดำเนินงานไปก่อน โดยได้รับความร่วมมือจากชุมชน ในการเฝ้าระวังเก็บรวบรวมข้อมูลในชุมชน แจ้งข่าวและกระจายข่าวสารในชุมชน
สรุป ระบบเฝ้าระวังโรคจะต้อง มี การรายงานโรค ที่ไม่ยุ่งยาก ไม่ซ้ำซ้อน โดยรายงานเป็นกลุ่มอาการที่พบ ไม่จำเป็นต้องวินิจฉัยแยกโรคโดยแพทย์ มีการรายงานอาชีพและสถานที่ทำงาน
ข้อเสนอแนะ ควรนำรูปแบบนี้ไปทดลองใช้ในชุมชน เพื่อทดสอบระบบว่ามีความเหมาะสมกับชุมชนจริงหรือไม่และร่วมพัฒนากับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคในชุมชนให้ยั่งยืนสอดคล้องกับปัญหาของพื้นที่ต่อไป
สวัสดี สวัสดี