1 / 168

การติดตาม กำกับ ตรวจสอบงานการเงิน การพัสดุของหน่วยงาน

การติดตาม กำกับ ตรวจสอบงานการเงิน การพัสดุของหน่วยงาน. หัวข้อนำเสนอ. 1. ภาพรวมระบบ GFMIS 2. การกำกับและตรวจสอบข้อมูลการจัดซื้อและการ เบิกจ่ายเงิน 3. หัวใจของระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงิน 4. อุทาหรณ์ก่อนทำผิด. 2. การกำกับและตรวจสอบข้อมูลการจัดซื้อและการเบิกจ่ายเงิน.

kyra-franco
Download Presentation

การติดตาม กำกับ ตรวจสอบงานการเงิน การพัสดุของหน่วยงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การติดตาม กำกับ ตรวจสอบงานการเงิน การพัสดุของหน่วยงาน

  2. หัวข้อนำเสนอ 1. ภาพรวมระบบ GFMIS 2. การกำกับและตรวจสอบข้อมูลการจัดซื้อและการ เบิกจ่ายเงิน 3. หัวใจของระเบียบเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงิน 4. อุทาหรณ์ก่อนทำผิด

  3. 2. การกำกับและตรวจสอบข้อมูลการจัดซื้อและการเบิกจ่ายเงิน

  4. พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 21 บัญญัติว่า ให้รัฐมนตรีเป็นผู้รับผิดชอบในการควบคุมงบประมาณเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎหมายระเบียบหรือข้อบังคับและให้มีอำนาจหน้าที่... กำหนดระเบียบหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลังด้วยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี

  5. ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 3 ส่วนที่ 2 หลักเกณฑ์การเบิกเงิน ข้อ 15 การขอเบิกเงินทุกกรณีให้ระบุวัตถุประสงค์ที่จะนำเงินนั้น ไปจ่าย และห้ามมิให้ขอเบิกเงินจนกว่าจะถึงกำหนด หรือใกล้จะถึงกำหนดจ่ายเงิน ข้อ 16 หน่วยงานผู้เบิกจะจ่ายเงินหรือก่อหนี้ผูกพันได้แต่เฉพาะ ที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีอนุญาตให้จ่ายได้ หรือตามที่ได้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลัง

  6. หมวด 3 ส่วนที่ 2 หลักเกณฑ์การเบิกเงิน (ต่อ) ข้อ 17 ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในปีงบประมาณใด ให้เบิกเงินจากงบประมาณรายจ่ายของปีนั้นไปจ่าย ข้อ 21 การขอเบิกเงินทุกกรณี ส่วนราชการมีหน้าที่ตามกฎหมาย ที่จะต้องหักภาษีใดๆ ไว้ ณ ที่จ่าย ให้บันทึกภาษีเป็นรายได้แผ่นดินไว้ในคำขอเบิกเงินนั้นด้วย เว้นแต่ได้มีการหักภาษีไว้แล้ว

  7. ข้อ 24 การขอเบิกเงินของส่วนราชการสำหรับการซื้อทรัพย์สิน ใบสั่งซื้อ ใบสั่งจ้าง มีวงเงินตั้งแต่ห้าพันบาทขึ้นไป โดยกรมบัญชีกลางจ่ายเงินเข้าบัญชีให้เจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับเงินของส่วนราชการโดยตรง แต่หากจำนวนเงินไม่ถึง 5,000 บาท ไม่ต้องจัดทำใบสั่งซื้อสั่งจ้างในระบบ โดยกรมบัญชีกลางจะจ่ายเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของส่วนราชการเพื่อไปจ่ายต่อให้เจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับเงินต่อไป หรือหากส่วนราชการต้องการให้จ่ายเงินเข้าบัญชีให้กับเจ้าหนี้หรือผู้มีสิทธิรับเงินของส่วนราชการโดยตรงก็ได้ การซื้อทรัพย์สิน จ้างทำของ หรือเช่าทรัพย์สิน ให้ส่วนราชการดำเนินการขอเบิกเงินจากคลังโดยเร็ว อย่างช้า ไม่เกินห้าวันทำการ นับจากวันที่ได้ตรวจรับถูกต้องแล้ว

  8. ระเบียบ/หนังสือว่าด้วยการพัสดุระเบียบ/หนังสือว่าด้วยการพัสดุ 1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 3. หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0409.3/ว403 ลงวันที่ 8 ตุลาคม 2555 เรื่องการเชื่อมโยงข้อมูลจากระบบ e-GP ระยะที่ 2 ไปยังระบบ GFMIS Web online (กรณีการสร้างใบสั่งซื้อสั่งจ้างในระบบ GFMIS ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2555 และระบุแหล่งของเงินเป็นปีงบประมาณ พ.ศ. 2556)

  9. การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบพัสดุ จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง ตามระเบียบฯ 35 ข้อ 27 เสนอหัวหน้าส่วนราชการ ขออนุมัติสั่งซื้อ/สั่งจ้าง จากผู้มีอำนาจ ตามระเบียบฯ ข้อ 65 - 67 ดำเนินการจัดหาตามระเบียบฯ จนได้ตัวผู้ชนะราคา แจ้งผู้ชนะราคาให้มาทำสัญญา ตรวจรับพัสดุ/งานจ้าง ควบคุมพัสดุและการจำหน่ายพัสดุ

  10. Token keyสำหรับส่วนราชการ 1. Token key ผู้บันทึก - ผู้ใช้งานจะได้รับ Token Key ที่มีป้ายชื่อสีขาวติดอยู่ พร้อมรหัสผ่าน (Password) - ใช้สำหรับการบันทึกข้อมูล ขอเบิกเงินผ่านระบบ GFMIS 2. Token key ผู้อนุมัติ - ผู้ใช้งานจะได้รับ Token Key ที่มีป้ายชื่อสีฟ้าติดอยู่ พร้อมรหัสผ่าน (Password) - ใช้สำหรับการอนุมัติข้อมูล ขอเบิกเงินผ่านระบบ GFMIS 3. Token key ผู้อนุมัติ - ผู้ใช้งานจะได้รับ Token Key ที่มีป้ายชื่อสีส้มติดอยู่ พร้อมรหัสผ่าน (Password) - ใช้สำหรับการอนุมัติข้อมูล ขอจ่ายเงินผ่านระบบ GFMIS ควรมอบเป็นคำสั่ง หากไม่มีเวลากำกับดูแล

  11. ทะเบียนคุมเงินประจำงวดทะเบียนคุมเงินประจำงวด

  12. รายละเอียดการคุมเงินประจำงวดรายละเอียดการคุมเงินประจำงวด

  13. สมุดคู่มือวางฎีกาเบิกเงินคลังสมุดคู่มือวางฎีกาเบิกเงินคลัง

  14. รายละเอียดการวางฎีกาเบิกเงินคลังรายละเอียดการวางฎีกาเบิกเงินคลัง

  15. รายงานการขอเบิกเงินคงคลัง (ขบ.02)

  16. หน้างบใบสำคัญค่าจ้างเหมาบริการบุคคลภายนอกหน้างบใบสำคัญค่าจ้างเหมาบริการบุคคลภายนอก

  17. ใบส่งมอบงาน

  18. เอกสารประกอบการส่งมอบงานเอกสารประกอบการส่งมอบงาน

  19. ใบสำคัญรับเงิน

  20. แนบสำเนาบัตรประชาชนของผู้รับจ้างแนบสำเนาบัตรประชาชนของผู้รับจ้าง

  21. ประเด็นสำคัญเกี่ยวกับการจัดซื้อ/เบิกจ่ายเงินประเด็นสำคัญเกี่ยวกับการจัดซื้อ/เบิกจ่ายเงิน ก่อนอนุมัติท่านควรตรวจสอบ

  22. ตัวอย่าง ตรวจสอบเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวผู้เสียภาษี สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร

  23. การบันทึกใบสั่งซื้อสั่งจ้างการบันทึกใบสั่งซื้อสั่งจ้าง

  24. การตรวจสอบข้อมูลการเบิกจ่ายเงินกรณีจ่ายเข้าบัญชีส่วนราชการการตรวจสอบข้อมูลการเบิกจ่ายเงินกรณีจ่ายเข้าบัญชีส่วนราชการ

  25. การบันทึกรายการขอเบิกการบันทึกรายการขอเบิก

  26. สรุปประเด็นที่เกี่ยวข้องในการจัดซื้อสรุปประเด็นที่เกี่ยวข้องในการจัดซื้อ และการเบิกจ่ายเงิน 1. มีความจำเป็นต้องจัดซื้อ—ดำเนินการตามระเบียบ ฯ พร้อมกับต้องบันทึกข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างในระบบ e-GP 2. หนี้ถึงกำหนดชำระ (มีเหตุที่จะต้องเบิก) ---เอกสาร/หลักฐานประกอบการขอเบิก 3. ต้องการจ่ายให้ใคร - เข้าหน่วยงาน---บัญชีธนาคารรัฐวิสาหกิจ - ตรงผู้ขาย --- ต้องมีข้อมูลหลักผู้ขายในระบบ GFMIS 4. ความถูกต้องของรายงานที่ขอเบิก --- รายงานสรุปการขอเบิก 5. ความถูกต้องของรายงานที่ขอจ่าย --- ใบเสร็จรับเงิน/ใบสำคัญรับเงิน

  27. ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี WWW.bb.go.th

  28. งบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณรายจ่าย งบส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ งบกลาง บุคลากร ดำเนินงาน ลงทุน อุดหนุน รายจ่ายอื่น

  29. การโอนและหรือเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณการโอนและหรือเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณ ต้องดำเนินการเพื่อ แก้ไขปัญหาในการดำเนินงาน หรือ เพิ่มประสิทธิภาพ หรือคุณภาพการให้บริการ หรือ การพัฒนาบุคลากรหรือเทคโนโลยี โดยต้องคำนึงถึง ความประหยัด ความคุ้มค่า และต้องแสดงเหตุผล ความจำเป็นหรือความเหมาะสมได้ และต้อง(ไม่) ไม่ทำให้เป้าหมายผลผลิตตามแผนการปฏิบัติงานและ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ลดลง ในสาระสำคัญ ไม่ มีหนี้ค่าสาธารณูปโภคค้างชำระเมื่อสิ้นปีงบประมาณ (ข้อ 23)

  30. ทั้งนี้ หัวหน้าส่วนราชการสามารถโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ ได้ตามกรอบดังกล่าวใน 3 ลักษณะ คือ ลักษณะที่ 1การโอนเปลี่ยนแปลงระหว่างงบรายจ่าย และระหว่างผลผลิต/โครงการ ภายใต้แผนงบประมาณเดียวกัน หัวหน้าส่วนราชการฯ สามารถโอนเปลี่ยนแปลงได้ด้วยตนเอง ได้ทุกงบรายจ่าย ยกเว้นงบบุคลากร (ข้อ 24) ยกเว้น : (1) ต้องไม่เป็นการกำหนดอัตราข้าราชการใหม่ (2) จัดหาครุภัณฑ์ยานพาหนะ (3) ค่าที่ดิน (4) ต้องไม่เป็นค่าเดินทางไป ตปท. ที่ไม่ได้กำหนดไว้ ในแผนฯ (5) ค่าครุภัณฑ์ ราคาต่อหน่วยเกินกว่า 1 ล้านบาท หรือค่าสิ่งก่อสร้าง ราคาต่อหน่วยเกินกว่า 10 ล้านบาท (6) ต้องไม่เป็นรายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ

  31. ทั้งนี้ หัวหน้าส่วนราชการสามารถโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ ได้ตามกรอบดังกล่าวใน 3 ลักษณะ คือ ลักษณะที่ 2การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ ที่เหลือจ่ายภายใต้แผนงบประมาณเดียวกัน ต้องเป็นงบฯ เหลือจ่ายจากการบรรลุเป้าหมาย หรือหลังการจัดซื้อจัดจ้างแล้ว หัวหน้าส่วนราชการฯ สามารถโอนเงินเหลือจ่ายดังกล่าวไปใช้จ่ายในรายการภายใต้ แผนงบประมาณเดียวกันได้ด้วยตนเอง (ข้อ 25) ยกเว้น : (1) ต้องไม่เป็นรายการค่าที่ดิน (2) ต้องไม่เป็นรายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ (3) การใช้จ่ายหรือสมทบค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศที่ไม่ได้กำหนดไว้ในแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ (4) การจัดหาครุภัณฑ์หรือสิ่งก่อสร้างที่มีวงเงินต่อหน่วยเกินกว่า 1ล้านบาท และ 10 ล้านบาท (5) จัดหาครุภัณฑ์ยานพาหนะใหม่ (ยกเว้นทดแทน) (6) ต้องไม่มีหนี้สาธารณูปโภค/ ค่าใช้จ่ายที่ผูกพันตามกฎหมายค้างชำระ

  32. ทั้งนี้ หัวหน้าส่วนราชการสามารถโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ ได้ตามกรอบดังกล่าวใน 3 ลักษณะ คือ ลักษณะที่ 3การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ ไปเพิ่มวงเงินค่าครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง ภายใต้แผนงบประมาณเดียวกัน เนื่องจากได้ดำเนินการจัดหาแล้วเกินวงเงินที่ได้รับ ทั้งนี้วงเงินส่วนเกินดังกล่าวต้องไม่เกิน 10% ของวงเงินงบประมาณ หัวหน้าส่วนราชการฯ สามารถโอนเงิน จากงบรายจ่ายใดๆ หรือนำเงินนอกงบประมาณมาสมทบเพิ่มเติมได้ (ข้อ 26) ทั้งนี้ ให้หัวหน้าส่วนราชการฯ รายงานการโอนเปลี่ยนแปลง ต่อ สงป. ไม่เกิน 15 วัน ตามแบบ สงป. กำหนด (ข้อ 28 ระเบียบบริหารฯ 48)

  33. ค่าการศึกษาบุตร

  34. ชอบด้วยกฎหมาย อายุ 3ปีไม่เกิน 25 ปี คนที่ 1 - 3 ยกเว้น บุตรบุญธรรม บุตรซึ่งให้ผู้อื่น บุตร

  35. สิทธิที่ได้รับ อนุบาล – ปวส. และ ปริญญาตรี สถานศึกษาของทางราชการ จ่ายจริงตามที่ กค.กำหนด (ว.390 ลว. 30 ตค. 2552) จ่ายจริงปีละไม่เกิน 20,000 บาท(ว.390และว.15)

  36. สิทธิที่ได้รับ สถานศึกษาของเอกชน อนุบาลถึง มัธยมปลาย สูงกว่ามัธยมปลาย ถึงอนุปริญญา(ปวส.) ปริญญาตรี จ่ายจริง 1/2ที่จ่ายจริง ไม่เกินค่าธรรมเนียมการเรียนในประเภทวิชาหรือสายอาชีพตามว.390 1/2 ที่จ่ายจริงไม่เกิน ปีละ 20,000 บาท ตามว. 390 ลว.30 ตค.52และ ว.15 ตามที่ กค. กำหนด ว.390ลว. 30 ตค.2552

  37. (1) ระดับอนุบาลหรือเทียบเท่าไม่เกินปีละ 4,650.- (2) ระดับประถมศึกษาหรือเทียบเท่าไม่เกินปีละ 3,200.- (3) ระดับมัธยมศึกษาหรือเทียบเท่าไม่เกินปีละ 3,900.- หมายเหตุอยู่ใน 6 รายการ ได้แก่ 1) ค่าสอนคอมพิวเตอร์ที่จัดให้เกินมาตรฐาน 2) ห้องเรียนพิเศษ EP3) ห้องเรียนพิเศษ MEP 4) ห้องเรียนพิเศษด้านภาษาต่างประเทศ ด้านวิชาการ และด้านอื่นๆ 5) ค่าจ้างครูชาวต่างประเทศ 6) ค่าจ้างครูที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาเฉพาะ ประเภท/อัตราเงินบำรุงการศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ

  38. (4) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ไม่เกินปีละ 3,900.- หมายเหตุต้องเป็นค่าใช้จ่ายที่สถานศึกษาได้รับอนุญาตจากหน่วยงานเจ้าสังกัดให้เรียกเก็บ ทั้งนี้ ไม่รวมค่าปรับต่างๆ ค่าลงทะเบียนล่าช้า การลงทะเบียนซ้ำเพื่อปรับผลการเรียน ค่าประกันอุบัติเหตุ ค่าประกันของเสียหาย ค่าหอพัก ค่าซักรีด และค่ารักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา ประเภท/อัตราเงินบำรุงการศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ

  39. (6) ระดับปริญญาตรีไม่เกินปีละ 20,000.- หมายเหตุต้องเป็นค่าใช้จ่ายที่สถานศึกษาได้รับอนุมัติให้เรียกเก็บตามระเบียบ ข้อบังคับ ของสถานศึกษานั้นๆ ทั้งนี้ ไม่รวมค่าปรับต่างๆ ค่าลงทะเบียนล่าช้า การลงทะเบียนซ้ำเพื่อปรับผลการเรียน ค่าประกันอุบัติเหตุ ค่าประกันของเสียหาย ค่าหอพัก ค่าซักรีด และค่ารักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา ประเภท/อัตราเงินบำรุงการศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ

  40. สถานศึกษาเอกชนประเภทสามัญศึกษาสถานศึกษาเอกชนประเภทสามัญศึกษา ค่าธรรมเนียมการเรียนไม่เกินปีละ (1) ระดับอนุบาลหรือเทียบเท่า 10,856.- (2) ระดับประถมศึกษาหรือเทียบเท่า 10,556 .- (3) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า12,647.- (4) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า 12,947.- • หมายเหตุ ไม่รับเงินอุดหนุน

  41. สถานศึกษาเอกชนประเภทสามัญศึกษาสถานศึกษาเอกชนประเภทสามัญศึกษา สถานศึกษาที่รับเงินอุดหนุน 1. อนุบาล หรือเทียบเท่า 3,874.- 2. ประถมศึกษาหรือเทียบเท่า 3,404.- 3. มัธยมต้น + หรือเทียบเท่า 2,635.- 4. มัธยมปลาย + หรือเทียบเท่า 2,605.-

  42. สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษาสถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา 1. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า (ไม่รับเงินอุดหนุน) 1.1 ค่าธรรมเนียมการเรียนในประเภทวิชาหรือสาขาวิชา (1) คหกรรม หรือคหกรรมศาสตร์ ปีละไม่เกิน 13,217.- (2) พาณิชยกรรม หรือบริหารธุรกิจ ปีละไม่เกิน 15,877.- (3) ศิลปหัตถกรรม หรือศิลปกรรม ปีละไม่เกิน 15,967.- (4) เกษตรกรรม หรือเกษตรศาสตร์ ปีละไม่เกิน 16,887.- (5) ช่างอุตสาหกรรม/อุตสาหกรรม/สิ่งทอ ปีละไม่เกิน 19,487.- (6) ประมง ปีละไม่เกิน 16,887.- (7) อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ปีละไม่เกิน 15,877.- (8) อุตสาหกรรมสิ่งทอ ปีละไม่เกิน 19,487.-

More Related