1 / 102

การใช้เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์

การใช้เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์. สุจิตรา อังคศรีทองกุล นักวิชาการสาธารณสุข ระดับเชี่ยวชาญ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. โ ทร 08-1484-3953 e-mail : dpc2sujita@yahoo.com.

Download Presentation

การใช้เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐการใช้เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ สุจิตรา อังคศรีทองกุล นักวิชาการสาธารณสุข ระดับเชี่ยวชาญ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โทร 08-1484-3953 e-mail : dpc2sujita@yahoo.com

  2. หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ • (13)1 การวางแผน ยุทธศาสตร์ • 1.1 แผนระยะยาว (4 ปี) • 1.2 แผนระยะสั้น (1 ปี) • ขั้นตอนและผู้เกี่ยวข้อง • กรอบเวลาและเหตุผล • กิจกรรมที่สอดคล้องกับ กรอบเวลา • (14)2 การนำปัจจัยมา ประกอบการวางแผนยุทธศาสตร์ • 2.1 ปัจจัยภายใน • 2.2 ปัจจัยภายนอก • ปัจจัยต่างๆ • การรวบรวม • การวิเคราะห์ • (15)3 what • 3.1 ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ • 3.2เป้าหมายและระยะเวลา • 3.3ลำดับความสำคัญของ เป้าประสงค์ • (16)4 การกำหนดประเด็น ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ • ดูความท้าทาย • ดูความสมดุลของโอกาส ระยะสั้นระยะยาว • ดูความต้องการของผู้มีส่วน ได้ส่วนเสีย • (17)5 การนำแผนสู่การปฏิบัติ • 5.1 วิธีการถ่ายทอด • 5.2 การจัดสรรทรัพยากร • 5.3 การทำให้ผลมีความยั่งยืน • (18)6 แผนปฏิบัติการ • 6.1 whatแผนปฏิบัติการที่สำคัญ • 6.2 แผนการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง (บริหารความเสี่ยง : RM) • จากการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ • จากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย • (19)7what • แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล • 7.14ปี • 7.21ปี • (20)8 ระบบการวัดผลสำเร็จ • 8.1 what • ตัวชี้วัดติดตามแผนปฏิบัติการ • 8.2การทำระบบการวัดผลสำเร็จของแผนปฏิบัติการ • เพื่อมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน (21)9 what เป้าหมาย 9.1เป้าหมายของตัวชี้วัด 9.2เป้าหมายเปรียบเทียบ RM Individual Score How 5 What 4 2

  3. ความรับผิดชอบต่อสังคมความรับผิดชอบต่อสังคม ทิศทางองค์กร ภายนอก วางแผนยุทธศาสตร์ (1) ปัจจัย (9 ตัว)(2) โอกาส/ความท้าทาย (อุปสรรรคด้านพันธกิจ ปฏิบัติการ บุคลากร) (OP 13) ระยะสั้น ยาว (4) ภายใน 2.1 ผู้รับบริการ/IT/คู่เทียบ/บุคลากร/จุดแข็ง จุดอ่อน/การปรับเปลี่ยนทรัพยากร ประเด็นยุทธศาสตร์/เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์/กลยุทธ์หลัก (3) Stakeholder (OP 3,7,8 ลักษณะโดยรวมองค์ที่เกี่ยวข้อง ผู้รับบริการ) ถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ (Strategy Map) (5) การคาดการณ์ (9)- ผลปีที่ผ่านมา- คู่เทียบ สื่อสาร สร้างความเข้าใจ การบริหารความเสี่ยง (6) 2.2 ตัวชี้วัดใช้ติดตาม (8) แผนปฏิบัติการ (5) เป้าหมาย แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล (7)(หมวด 5) จัดสรรทรัพยากร (5) 3 นำไปปฏิบัติ

  4. หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ 4

  5. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ

  6. ความเชื่อมโยงของการพัฒนาองค์การในหมวด 2 ตามเกณฑ์Acceptable Level

  7. ส่วนราชการต้องมีการกำหนดขั้นตอน/กิจกรรม และกรอบเวลาที่เหมาะสม รวมถึง มีการระบุผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจนในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดย……..มุ่งเน้นที่จะผลักดันให้บรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการ บรรลุเป้าหมายตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน และเแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงและกลุ่มภารกิจ SP 1 :

  8. แผนการบริหารราชการแผ่นดินแผนการบริหารราชการแผ่นดิน และแผนปฏิบัติราชการ

  9. 1 ความเป็นมาของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน 1.1 การบริหารราชการแผ่นดิน อดีต ปัจจุบัน คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภา คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภา แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนนิติบัญญัติ แผนยุทธศาตร์ 4 ปี แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี แผนปฏิบัติราชการประจำปี แผนปฏิบัติราชการประจำปี

  10. 1.2 ที่มาของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แผนการบริหาร ราชการ แผ่นดิน ระเบียบฯว่าด้วยการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

  11. 2 ความหมายและประโยชน์ของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน 2.1แผนการบริหารราชการแผ่นดิน คืออะไร • เป็นการดำเนินการที่สอดคล้องกับแนวคิดของระบบการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดย…… • มุ่งให้คณะรัฐมนตรี ซึ่งเป็นฝ่ายการเมืองเป็นผู้กำหนดนโยบายและวางยุทธศาสตร์ในการบริหารราชการแผ่นดิน • คือ………แผนยุทธศาสตร์ของรัฐบาล (Strategic Plan) ที่แสดงถึง วิสัยทัศน์ และทิศทางการทำงานของรัฐบาลในช่วงเวลา 4 ปี ตามกรอบแนวทางที่ได้แถลงไว้ต่อรัฐสภา และแนวนโยบาย พื้นฐานแห่งรัฐ • ผูกพัน ครม. รมต. และส่วนราชการ

  12. 2.2ประโยชน์ของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน2.2ประโยชน์ของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน • ใช้เป็นแผนแม่บท หรืออ้างอิงในการบูรณาการ เพื่อถ่ายทอดนโยบายและยุทธศาสตร์ของรัฐบาลไปสู่การปฏิบัติในทุกมิติและระดับ • ใช้เป็นแนวทางในการร่างแผนนิติบัญญัติ • ใช้เป็นแนวทางในการจัดทำแผนการเงิน การคลังของรัฐบาล • ใช้เป็นแนวทางการจัดสรรทรัพยากร (คน/เงิน) • ใช้เป็นแนวทางการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล

  13. ความเชื่อมโยงของแผนการบริหารราชการแผ่นดินและแผนปฏิบัติราชการความเชื่อมโยงของแผนการบริหารราชการแผ่นดินและแผนปฏิบัติราชการ 3 • รายงานสรุปสภาวะของประเทศ • รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อรัฐสภา • Thailand Milestone (Benchmarking) • Vision 2010/2020 แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (พ.ศ. 2548-2551) ประมาณการการคลัง (รายรับ/รายจ่าย) ล่วงหน้า (Medium-term Fiscal Forward Estimation) • ยุทธศาสตร์ • รายสาขา แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี กระทรวง กรม กลุ่มจังหวัด จังหวัด งบประมาณรายจ่าย ประจำปี แผนปฏิบัติราชการ ประจำปี

  14. 4 โครงร่างและเนื้อหาของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน โครงร่าง แผนการบริหารราชการแผ่นดิน(พ.ศ.2548-2551) วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ I ประเด็นยุทธศาสตร์II ประเด็นยุทธศาสตร์III ประเด็นยุทธศาสตร์IV ประเด็นยุทธศาสตร์V เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 1. 2. 3. 4 5. ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ 1.1 1.2 2.1 2.2 3.1 . . .

  15. ระเด็นยุทธศาตร์ที่สำคัญ 9 ประการ

  16. ารจัดสรรงบประมาณรายจ่าย .... จำแนกตามยุทธศาสตร์ ..... ปัจจุบัน 5%(9) 10%(8) 6%(1) 2%(7) 51%(2) 3%(6) 1%(5) อดีต 6%(4) 8.6% 35.8% 12.7% 33.1% 16%(3) 9.8% • ยุทธศาสตร์ขจัดความยากจน • ยุทธศาสตร์พัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ • ยุทธศาสตร์ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและแข่งขันได้ • ยุทธศาสตร์บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • ยุทธศาสตร์การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ • ยุทธศาสตร์พัฒนากฎหมายและส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • ยุทธศาสตร์ส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม • ยุทธศาสตร์รักษาความมั่นคงของรัฐ • ยุทธศาสตร์รองรับการเปลี่ยนแปลงและพลวัตรโลก • เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ • การเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ • การพัฒนาสังคม การแก้ไขปัญหาสังคม และการยกระดับคุณภาพชีวิต • ความมั่นคงของชาติ การต่างประเทศ และการอำนวยความยุติธรรม • การบริหารจัดการประเทศ

  17. 5 วิธีการแปลงแผนการบริหารราชการแผ่นดิน สู่แผนปฏิบัติราชการ 5.1 วิธีการแปลงแผนการบริหารราชการแผ่นดินสู่ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • ศึกษาคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อรัฐสภา • ศึกษาแผนการบริหารราชการแผ่นดิน • พิจารณาว่าหน่วยงานมีบทบาทเกี่ยวข้องในประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ และกลยุทธ์ใดบ้าง ตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน • ให้ถอดแผนการบริหารราชการแผ่นดินให้ครบถ้วนทุกประเด็น • ถ่ายทอดจากระดับภาพรวมของกระทรวงสู่ระดับกลุ่มภารกิจ หรือกรมแล้วแต่กรณี • ให้มีความเชื่อมโยงระหว่างเป้าประสงค์ ตัวชี้วัดและเป้าหมายในระดับต่างๆ • ให้มีการบูรณาการในแต่ละมิติ • มิติภารกิจหน้าที่งาน • มิติพื้นที่ • มิติวาระ

  18. แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (พ.ศ. 2548-2551) แผนปฏิบัติ ราชการ 4 ปี • มิติภารกิจหน้าที่งาน • มิติพื้นที่ • มิติวาระ แผนปฏิบัติราชการประจำปี บูรณาการ ผลลัพธ์สุดท้าย ผลผลิต กิจกรรม ทรัพยากร ผลลัพธ์

  19. วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด / ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ กระบวนงาน/โครงการ 5.2ตัวอย่างการถอดประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 สู่แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ของส่วนราชการต่างๆ การบริหารเชิงยุทธศาสตร์ การจัดทำแผนผังเชิงยุทธศาสตร์ (strategy map) จะทำให้เห็นความเชื่อมโยงของกลยุทธ์

  20. Logic Model วิสัยทัศน์ Z1 แผนยุทธศาสตร์ ผลลัพธ์สุดท้าย ประเด็นยุทธศาสตร์ Y1 Y2 เป้าประสงค์ กลยุทธ์ x4 x5 x6 x2 x1 x3 กระบวนงาน แผนปฏิบัติ (โครงการ) ทรัพยากร

  21. Strategy Map การเพิ่มขึ้นของรายได้ รายได้จากลูกค้าใหม่เพิ่ม การแสวงหาลูกค้าใหม่ การบริการที่ดี ราคาเหมาะสม กระบวนการจัดส่งที่รวดเร็ว กระบวนการผลิตที่ดี เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะของพนักงาน

  22. แผนที่ทางกลยุทธ์ (Strategy Map) Financial Perspective กำไรสูงสุด การลดลงของต้นทุน การเพิ่มขึ้นของรายได้ รายได้จากลูกค้า เก่าเพิ่ม รายได้จากผลิตภัณฑ์ ใหม่เพิ่ม รายได้จากลูกค้าใหม่เพิ่ม Customer Perspective การแสวงหาลูกค้าใหม่ การรักษาลูกค้าเก่า การสร้างความพอใจให้กับลูกค้า การจัดส่งที่ตรงเวลา สินค้าที่มีคุณภาพ ราคาที่สามารถแข่งขันได้ การบริการที่ดี Internal Process Perspective กระบวนการจัดส่งที่รวดเร็ว คุณภาพของสินค้าจากโรงงาน กระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ การบริหารวัตถุดิบที่ดี Learning and Growih Perspective วัฒนธรรมและโครงสร้างองค์กร เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย ทักษะของพนักงาน

  23. ….สถาบันการศึกษาด้านบริหารธุรกิจอันเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ….สถาบันการศึกษาด้านบริหารธุรกิจอันเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ Customers ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ และคุณธรรม ผลงานวิจัยและวิชาการ เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ การให้บริการทางวิชาการ แก่สังคม Internal Processes ระบบประกันคุณภาพภายใน และระบบบริหารจัดการที่คล่องตัว มีประสิทธิภาพ และตรวจสอบได้ มีระบบเครือข่าย เชื่อมโยง การประชาสัมพันธ์ เชิงรุก หลักสูตรและวิธีการเรียน การสอนที่ทันสมัย Learning & Growth อาจารย์ที่เป็นผู้รู้และผู้เชี่ยวชาญ ในศาสตร์ พัฒนาระบบทรัพยากรบุคคล ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ของคณะ Infrastructure ของ คณะ (IT และสภาพแวดล้อม) Finance การหารายได้

  24. การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ

  25. Strategic Management Strategy Formulation แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (2548-2551) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี S W O T Vision Strategic Issue Goal (KPI / target) Strategies Strategic Control Strategy Implementation Action Plan Risk Assessment & Management Structure Process/IT Alignment Rule & Regulation People/ Culture Blueprint for Change

  26. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ แสดงผลงานที่บรรลุวัตถุประสงค์และ เป้าหมายของแผนปฏิบัติราชการตามทีได้รับงบประมาณมาดำเนินการ เพื่อให้เกิด ประโยชน์สุขต่อประชาชน มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ แสดงการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการในการบริการที่มีคุณภาพ สร้างความพึงพอใจ แก่ผู้รับบริการ มิติที่ 3 : มิติด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ แสดงความสามารถในการปฏิบัติ ราชการ เช่น การลดรอบระยะเวลา การให้บริการ การบริหารงบประมาณ การประหยัดพลังงาน เป็นต้น มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร แสดงความสามารถในการบริหาร การเปลี่ยนแปลงขององค์กรและการพัฒนาบุคลากร เพื่อสร้างความพร้อมในการสนับสนุนแผนปฏิบัติราชการ

  27. มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ตามแผนปฏิบัติราชการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 50) มิติที่ 2 ด้านคุณภาพ การให้บริการ (น้ำหนัก : ร้อยละ 10) มิติที่ 4 ด้านการพัฒนา องค์กร (น้ำหนัก : ร้อยละ 30) การบริหารงบประมาณ การประหยัดพลังงาน การลดระยะเวลาการให้บริการ คุณภาพการให้บริการ การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ การจัดการความรู้ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ การบริหารการปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร การบริหารจัดการองค์กร การบริหารความเสี่ยง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  28. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  29. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  30. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  31. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  32. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  33. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  34. คือ ……….การวิเคราะห์ และกำหนดแนวทางที่ดีที่สุดภายใต้สภาพแวดล้อมต่าง ๆ เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ที่ต้องการ โดย…….ศึกษาข้อมูล สภาพแวดล้อมทั้งภายใน และภายนอกอย่างรอบด้าน มาประกอบการพิจารณา กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ที่ดีควร……ครอบคลุมขั้นตอนที่สำคัญ 4 ขั้นตอน การวางแผนยุทธศาสตร์

  35. ควรครอบคลุมขั้นตอนที่สำคัญ 4 คือ การวิเคราะห์ทางยุทธศาสตร์ (Strategic Analysis) การกำหนดทิศทางขององค์กร (Strategic Direction Setting) การกำหนดยุทธศาสตร์ (Strategic Formulation) การนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ (Strategic Implementation) ขั้นตอนกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ที่ดี

  36. คือ …….. กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี เพื่อให้เห็นกระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของส่วนราชการอย่างชัดเจน กำหนดให้ส่วนราชการต้องมีการจัดทำแผนภาพ (Flowchart) ของกระบวนการ จัดทำแผนปฏิบัติราชการดังกล่าวเป็นลายลักษณ์อักษร โดย…….ส่วนราชการต้องมีการกำหนดขั้นตอน หรือกิจกรรมให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับกรอบเวลาในการดำเนินการ การวางแผนยุทธศาสตร์ สำหรับส่วนราชการ

  37. หมายถึง : การกำหนดกรอบระยะเวลาที่ใช้ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ อย่างชัดเจนเป็นการล่วงหน้า โดย…….สอดคล้องกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2547 (สำหรับการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี) สอดคล้องกับปีปฏิทินงบประมาณ (สำหรับการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี และแผนปฏิบัติการ) โดย…….คำนึงถึงระยะเวลาที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาประกอบในการจัดทำแผนด้วย การกำหนดกรอบเวลาที่เหมาะสม

  38. ต้องแสดงให้เห็นถึงการสื่อสาร สร้างความเข้าใจในกระบวนการดังกล่าวให้แก่ผู้รับผิดชอบและผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมถึง การบริหารจัดการในการติดตามผู้ทีรับผิดชอบให้มีความมุ่งมั่นในการดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามกระบวนการจัดทำแผนตามที่กำหนด การดำเนินการตามกระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ

  39. นอกจากส่วนราชการต้องมีการมุ่งเน้นที่จะผลักดันให้บรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการแล้ว นอกจากส่วนราชการต้องมีการมุ่งเน้นที่จะผลักดันให้บรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการแล้ว ต้องแสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องและการถ่ายทอดกลยุทธ์ในการบรรลุเป้าหมายของแผนการบริหารราชการแผ่นดิน เแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงและกลุ่มภารกิจ ที่ส่วนราชการมีส่วนเกี่ยวข้องรับผิดชอบการบรรลุเป้าหมายดังกล่าวด้วย การจัดทำแผนปฏิบัติราชการดังกล่าว

  40. สอดคล้องตามระบบการวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้งบประมาณ (PART) ในคำถาม (ก1) ท่านมีความเข้าใจเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง และยุทธศาสตร์กระทรวง ที่หน่วยงานของท่านต้องรับผิดชอบดำเนินการให้บรรลุผลสำเร็จหรือไม่ อย่างไร สอดคล้องกับคำถาม (ข1) หน่วยงานจัดทำแผนกลยุทธ์ที่แสดงความเชื่อมโยงและถ่ายทอดภารกิจจากจุดมุ่งหมายของรัฐบาล (เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ชาติ) มายังผลลัพธ์ ผลผลิตและกิจกรรมตามลำดับหรือไม่ อย่างไร การดำเนินการตาม SP 1

  41. SP 2 :ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการ (4 ปี และ 1 ปี) ต้องมีการนำปัจจัยทั้งภายในและภายนอกที่สำคัญและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป มาใช้ประกอบการวิเคราะห์ อย่างน้อยประกอบด้วย วิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการ ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ รวมถึง กฎหมาย ระเบียบ และโครงสร้างส่วนราชการ

  42. วิธีการดำเนินการ • 1. กำหนดผู้รับผิดชอบ • 2. กำหนดขั้นตอน/กิจกรรม/กรอบเวลา/ผู้รับผิดชอบ • ในการจัดทำแผน 4 ปี และ 1 ปี ในแต่ละขั้นตอน • 3. กำหนดปัจจัยที่จะนำมาวิเคราะห์เพื่อจัดทำแผน • (มีกระบวนการรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละประเภท ข้อมูลที่ใช้อย่างชัดเจน) • วิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการ • ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ความเสี่ยงในด้านการเงิน สังคม และจริยธรรม • กฎหมาย ระเบียบ โครงสร้างส่วนราชการ • ปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการปฏิบัติงานขององค์กร

  43. วิธีการดำเนินการ • 1. กำหนดผู้รับผิดชอบ • 2. กำหนดขั้นตอน/กิจกรรม/กรอบเวลา/ผู้รับผิดชอบ • ในการจัดทำแผน 4 ปี และ 1 ปี ในแต่ละขั้นตอน • 3. กำหนดปัจจัยที่จะนำมาวิเคราะห์เพื่อจัดทำแผน • (มีกระบวนการรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละประเภท ข้อมูลที่ใช้อย่างชัดเจน) • วิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการ • ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ความเสี่ยงในด้านการเงิน สังคม และจริยธรรม • กฎหมาย ระเบียบ โครงสร้างส่วนราชการ • ปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการปฏิบัติงานขององค์กร

  44. วิธีดำเนินการ (ต่อ) 4. จัดเก็บ รวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการจัดทำแผน 5. วิเคราะห์ปัจจัยภายใน และภายนอก เพื่อจัดทำแผน 4 ปี และ 1 ปี 6. ทบทวนกระบวนการจัดทำแผน 4 ปี และ 1 ปี (ปลายปี)

  45. หมายถึง : การแสดงให้เห็นถึงวิธีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล และสารสนเทศอย่างเหมาะสม โดย………. มีระบบการจัดเก็บ และการนำมาใช้ที่เชื่อถือได้และเป็นปัจจุบัน ในการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ต้องครอบคลุมทุกระดับและทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั่วทั้งองค์กร การกำหนดปัจจัยทั้งภายในและภายนอกองค์กรที่จะนำมาวิเคราะห์ เพื่อ……..ประกอบในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ

  46. มีการวิเคราะห์ที่เหมาะสมในแต่ละปัจจัย เช่น ……. การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบ การวิเคราะห์เพื่อพิจารณาแนวโน้มของผลการดำเนินการ การวิเคราะห์ผลกระทบทั้งเชิงบวกและเชิงลบ การวิเคราะห์ในเชิงสถิติ เป็นต้น ………เพื่อให้ได้สารสนเทศนำไปประกอบการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ การกำหนดปัจจัยทั้งภายในและภายนอกองค์กรที่จะนำมาวิเคราะห์ เพื่อ……..ประกอบในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ

  47. ต้องมีความสอดคล้องกับบริบทขององค์กร และสภาพแวดล้อมภายนอกที่มีผลกระทบต่อองค์การ โดย……..ปัจจัยที่สำคัญอย่างน้อยต้องประกอบด้วย วิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการ ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การกำหนดปัจจัยภายนอกและภายใน

  48. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ได้แก่ ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปีและแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดย…….รวมถึง ผลการดำเนินงานของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ และผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ ด้วย ความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ อย่างน้อยประกอบด้วย ความเสี่ยงด้านการเงิน สังคม และจริยธรรม กฎหมาย ระเบียบ โครงสร้างส่วนราชการ การกำหนดปัจจัยภายนอกและภายใน

More Related