1 / 50

ส่วนที่ 3 กระบวนการและขั้นตอนการสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์

ส่วนที่ 3 กระบวนการและขั้นตอนการสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์. แผนที่ยุทธศาสตร์ ( Strategy Map). นายสุทธิ พงษ์ วสุโสภาพล ผู้ชำนาญการ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ( สช. ) กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการสนับสนุนและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่( สปสช. )

Download Presentation

ส่วนที่ 3 กระบวนการและขั้นตอนการสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ส่วนที่ 3 กระบวนการและขั้นตอนการสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) นายสุทธิพงษ์ วสุโสภาพล ผู้ชำนาญการ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ(สช.) กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการสนับสนุนและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่(สปสช.) โทร 081-8855365, 081-9518499 E-mail:Suttipong_va@hotmail.com

  2. กระบวนการและขั้นตอนการสร้างและใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) 1 วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์ ( กำหนดจุดหมายปลายทาง (Destination) 1 2 3 สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) 2 การสร้างแผนที่ การใช้แผนที่ 4 สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) 5 (1) สร้างแผนปฏิบัติการจาก SLM (2) กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จ นิยามวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด 4 สร้างแผนที่ปฏิบัติการ(Mini-SLM) 6 เปิดงานและการติดตามผล 7

  3. Workshop 1 การวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์การพัฒนา:เราอยู่ตรงไหนของการพัฒนา (Self Assessment)

  4. ทบทวนและประเมินตนเอง...แล้วได้อะไรบ้าง…?ทบทวนและประเมินตนเอง...แล้วได้อะไรบ้าง…? ● ทำให้เรารู้ว่า มีอะไรเกิดขึ้นในระบบใดระบบหนึ่ง…ของ การพัฒนา ● จะสะท้อนสถานภาพการพัฒนาในขณะนั้นๆ ให้เห็นได้ ชัดขึ้นว่าอยู่ในสภาพดี-แย่อย่างไร? มีแนวโน้มเป็น อย่างไร? ● ขณะนี้ เรากำลังอยู่ตรงไหนของสถานการณ์...เรากำลัง เดินไปในทิศทางใดในการพัฒนา...อีกไกลไหม กว่าจะถึงจุดหมายที่เราตั้งไว้ ● เราจะมองเห็นว่าส่วนใดที่มีปัญหา และจะสามารถแก้ไข ปัญหานั้นได้อย่างไร (แก้ไขตรงจุดได้มากขึ้น)

  5. Workshop1: “วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์” 1.ประเด็น/โจทย์ : สถานการณ์การดำเนินงานและทิศทางในอนาคตของการพัฒนาระบบสุขภาพ ของกรมอนามัย (ทบทวนยุทธศาสตร์ที่มีด้วย) ระยะที่ 1 จากอดีตจนถึง ปัจจุบันที่ผ่านมา (ย้อนหลัง3-5 ปี)เราทำอะไร?..หรือมีอะไรเกิดขึ้นบ้าง? ผลการพัฒนาเป็นอย่างไร? ..มีจุดเด่น(ความภูมิใจ) ที่ทำได้อะไรบ้าง? ..มีจุดด้อย..(ทำได้น้อยหรือไม่ได้เลย)ที่สำคัญ อะไร?สาเหตุเกิดจากคืออะไร? ฯลฯ

  6. ระยะที่ 2ถ้าจะให้ดีขึ้นในอนาคตจะพัฒนาอย่างไร? ..เรามีความคาดหวังหรือมีโอกาสอะไรบ้าง? ..หรือมีอะไรบ้าง? ที่จะต้องทำต่อไป 2.ระดับการวิเคราะห์: องค์กรของเราไปจนถึง ชุมชน/ท้องถิ่น Workshop1: “วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์”

  7. การวิเคราะห์ด้วยภาพแผนที่ความคิด(Mind Map) กิ่งทั้ง 4 ของภาพแผนที่ความคิด...แสดงให้เห็นถึงสถานการณ์ทั้งหมดที่เป็นอยู่ ใน 4 ระดับ คือ 1.ระดับประชาชน 2.ระดับภาคี 3.ระดับกระบวนการ 4.ระดับพื้นฐาน 5.อื่นๆเช่น นวัตกรรม ใหม่ๆ วัฒนธรรมองค์กร บรรยากาศการทำงาน อดีต-ปัจจุบัน อดีต-ปัจจุบัน เทคโนโลยี ประชาชน พฤติกรรมประชาชน ข้อมูล การบริการ ศูนย์ข้อมูลเด่น พื้นฐาน(องค์กร) อนาคต สถานการณ์การดำเนินงานและทิศทางของ PP ทักษะบุคลากร แกนนำ ความต้องการแก้ไขปัญหา อดีต อนาคต โครงสร้างงานขององค์กร อปท. อดีต-ปัจจุบัน ภาคีพันธมิตร อนาคต กระบวนการ อนาคต “เริ่มที่ระดับประชาชนก่อน(2 ระยะเวลา ใน 4 ระดับ)”

  8. Workshop2กำหนดจุดหมายปลายทาง การพัฒนา(Destination Statement) “ก่อนออกเดินทางต้องทราบจุดหมายปลายทาง”

  9. หลักการสำคัญของจุดหมายปลายทาง( Destination Statements) • จุดหมายปลายทาง เป็นจุดตั้งต้นของการสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ที่จะระบุเวลาที่ชัดเจนกว่า ภาพฝันหรือภาพอนาคตที่คาดหวัง ไม่ใช่เป็นการแสดงวิสัยทัศน์หรือพันธกิจ • เป็นการแสดงเหตุผลความเชื่อมโยงของวัตถุประสงค์ต่างๆ (รู้ว่าจะไปไหน หรือ ที่จะไปถึง) • อธิบายยุทธศาสตร์/เป้าหมายเดิมที่ใช้อยู่/กลยุทธ์หลักที่คาดหวัง (ถ้ามี)

  10. หลักการสำคัญของจุดหมายปลายทาง( Destination Statements) • แสดงความเป็นไปได้ ในอำนาจของหน่วยงานหรือภายใต้เงื่อนไขแต่ละระดับ(อยู่ในวิสัยที่ทำได้) • อธิบายภาพอนาคตที่คาดหวังอย่างชัดเจน1-2หน้า -หน้าที่ 1 ผังจุดหมายปลายทาง -หน้าที่ 2 เขียนคำนิยามหรือรายละเอียด • กรอบระยะเวลา 2-5ปี • มีประมาณ 20-30 จุดหมายปลายทาง • ใช้กระบวนการกลุ่มและสนับสนุนด้วยวิชาการ • ถือหลักความสมเหตุสมผลแต่อาจไม่ดีที่สุดก็ได้ • เป็นความคิดใหม่ๆ ที่มีคุณค่าต่อองค์กร/ประชาชนและสังคม

  11. ลักษณะของผังจุดหมายปลายทางลักษณะของผังจุดหมายปลายทาง รวมประโยคไว้ภายใต้หัวข้อจำนวนหนึ่ง ประชาชน / ชุมชน ภาคี / เครือข่ายพันธมิตร เราช่วยได้อย่างไร หรือต้องการอะไรจากภาคี ต้องการอะไร มีบทบาทมีข้อผูกพันอย่างไร พื้นฐานองค์กรและวัฒนธรรมองค์กร กระบวนการ เราสามารถทำอะไรที่จะตอบสนองประชาชน และภาคี เราจะจัดรูปองค์กรอย่างไร บุคลากรจะมีกระบวนทัศน์/ ทักษะที่เหมาะสมที่จะตอบสนองข้ออื่นๆ อย่างไร

  12. ผังจุดหมายปลายทาง การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค(PP) ของจังหวัดเชียงใหม่ภายในปี พ.ศ. 2553 (ระยะเวลา 2 ปี)กำหนดระหว่าง วันที่ 2 ก.ย.- 9 ต.ค.2551 ตัวอย่าง

  13. จุดหมายปลายทางการพัฒนาตำบลป่าพะยอม กินดี อยู่ดี มีสุข ภายในปี 2552 (28 กค. 49 13.42) • ระดับประชาชน / ชุมชน (มุมมองเชิงคุณค่า) • มีโครงการของชุมชนโดยชุมชน (ธนาคารบุญความดี) • มีระบบเฝ้าระวัง บำรุงรักษา และขจัดสิ่งไม่ดีในชุมชน (ความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน/ภัยพิบัติ สิ่งแวดล้อม ฯลฯ) • มีรายได้พอเพียงตามเกณฑ์ จปฐ. • มีครอบครัวอบอุ่น (ลดละเลิกอบายมุข/ปฏิบัติตามกฎจราจร) • มีการกำหนดผังเมืองทั้ง 7 หมู่ • มีกองทุนที่เข้มแข็ง • ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงบริหารจัดการ) • มีการบริหารจัดการกองทุนที่เข้มแข็ง • มีการบริหารจัดการที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ • มีการบูรณาการแผนชุมชน(กลไกการประสานงาน กำหนดปฏิทินชุมชน) • มีระบบการสื่อสารที่ดี (ครอบคลุมทุกพื้นที่,กลุ่ม,เครือข่าย) • มีระบบการติดตามประเมินผล • มีการยกฐานะ อบต.เป็นเทศบาลตำบล ตัวอย่าง ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) • เครือข่ายชุมชนภายในตำบลร่วมสนับสนุนทรัพยากร • ม.ทักษิณสนับสนุนวิชาการต่อเนื่อง • อบต./อบจ.สนับสนุนงบประมาณ • องค์กรภาครัฐ สนับสนุนทรัพยากรและแก้ป้ญหา • รัฐวิสาหกิจ/เอกชนสนับสนุนกิจกรรมชุมชนอย่างต่อเนื่อง ระดับพื้นฐาน (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) • บุคลากรของชุมชน มีความรู้ ทักษะและความสามารถ • มีฐานข้อมูลตำบลที่ครบถ้วนถูกต้อง • มีศูนย์การเรียนรู้ชุมชน • มีวัฒนธรรมชุมชนที่ดี (รัก สามัคคีมีคุณธรรม จริยธรรม ทำงานเป็นทีม)

  14. วิธีการกำหนดจุดหมายปลายทาง( Destination Statements) 1.วิเคราะห์ข้อมูลจากการประเมินสถานการณ์การพัฒนา PP. โดยเฉพาะทิศทางในอนาคต 2.กำหนดเป็นจุดหมายปลายทางการพัฒนาในระยะ 2 ปี (2 หน้า) -หน้าที่ 1 ผังจุดหมายปลายทาง -หน้าที่ 2 เขียนคำนิยามหรือรายละเอียด 3.เริ่มจากการกำหนดจุดหมายปลายทางในระดับประชาชน/ชุมชน ก่อน

  15. วิธีการกำหนดจุดหมายปลายทาง( Destination Statements) 4.เขียนเป็นประโยคในเชิงผลผลิต 5.ทบทวนให้ชัดเจน(ทั้งเนื้อหาประเด็นและระยะเวลาที่สามารถดำเนินการได้ใน 2 ปี) 6.เสนอผู้บริหารเห็นชอบ (เพื่อปรับปรุง/แก้ไขหรือเพิ่มเติม)

  16. ผังจุดหมายปลายทาง การพัฒนาระบบสุขภาพ ของกรมอนามัยภายในปี พ.ศ. 2555 (ระยะเวลา 4 ปี)กำหนดเมื่อ19 พฤศจิกายน 2551

  17. ประโยชน์ของจุดหมายปลายทาง( Destination Statements) 1.ได้ทราบจุดหมายปลายทางที่ชัดเจนในการพัฒนางาน PP. ในระยะ 2 ปี (จะทำอะไรบ้าง?) 2.ได้ทราบความสัมพันธ์ของจุดหมายปลายทางทั้ง 4 ระดับ 3.สามารถกำหนดเส้นทางไปสู่ความสำเร็จได้ในระยะ 2 ปี 4.สื่อสารให้ทุกคนได้ทราบร่วมกันว่าจะทำอะไรบ้าง?

  18. Workshop 3 (1)สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์

  19. การเชื่อมโยงมุมมองของยุทธศาสตร์การพัฒนาการเชื่อมโยงมุมมองของยุทธศาสตร์การพัฒนา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ ทำอะไรได้ในการพัฒนาตนเอง ประชาชน/ชุมชน แผนที่ยุทธศาสตร์ กระบวนการบริหารจัดการ บทบาทของพันธมิตร สมรรถนะขององค์กร (คน/ข้อมูล/องค์กร) จะร่วมมือกันอย่างไร ควรเชี่ยวชาญเรื่องใด จะพัฒนาอะไร

  20. แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาตำบลควนโดนน่าอยู่ จ.สตูล สร้างชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข ภายในปี พ.ศ. 2553 26/4/50 • ส่งเสริมการประกอบอาชีพอย่างเป็นระบบ • พัฒนากลุ่มอาชีพทุกกลุ่มให้ได้มาตรฐาน • สนับสนุนเทคโนโลยีและงบประมาณ • จัดหาตลาดแหล่งขาย เพื่อรองรับ • ส่งเสริมให้ชุมชนและครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกัน • อบรมให้ความรู้ทางศาสนา และสังคม • จัดกิจกรรมร่วมกันในชุมชนและต่อเนื่อง • จัดเวทีประชาคม • รณรงค์/ส่งเสริมให้ชุมชนปลอดภัยจากเหตุการณ์ที่เป็นภัยต่อคนในชุมชน • รณรงค์ร่วมกันในชุมชน • ประชาสัมพันธ์ • ใช้มาตราการทางศาสนา และสังคมอย่างจริงจัง • จัดให้มีระบบการตรวจสอบที่ถูกต้อง • พัฒนาให้ทุกชุมชนมีการจัดทำแผนงานและโครงการของชุมชน • อบรมแกนนำ เพื่อทำแผนงาน โครงการ • จัดทำประชาคม • พัฒนากระบวนการวางแผนงาน/โครงการร่วมกันของชุมชน • พัฒนาและส่งเสริมการทำหัตถกรรมพื้นบ้าน • ฟื้นฟูภูมิปัญญาท้องถิ่น • การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ • ประสานงานร่วมกับกลุ่มต่างๆในชุมชน • ส่งเสริมด้านการตลาด 5 3 ประชาชน 4 1 2 • ภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจ/เอกชน จัดทำแผนงานร่วมแบบบูรณาการระหว่างหน่วยงาน • ประสานงานทุกภาคส่วน • จัดทำแผน/โครงการ • ปฏิบัติตามแผน • ติดตามประเมินผล • เครือข่ายกลุ่ม/องค์กร/ชมรม/กองทุน ส่งเสริมให้ทุกองค์กรมีส่วนนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การตัดสินใจ • จัดเวทีประชาคม • จัดทำแผนแบบบูรณาการนำแผนไปปฏิบัติ • ติดตามประเมินผล • อบต./ อบจ./นพค.45 จัดทำแผนงานแบบบูรณาการระหว่างหน่วยงาน • ประสานงานทุกภาคส่วน • จัดทำแผนงาน/โครงการ • ปฏิบัติตามแผนงาน • ติดตามประเมินผล • องค์กรทางศาสนา สร้างสัมพันธ์ภาพที่ดี • ส่งเสริมการอ่านคำภีร์อัลกุรอ่าน หนังสือธรรมะตามแนวทางศาสนามากขึ้น โดยผู้นำศาสนา • ส่งเสริมให้มีการแข็งขันทักษะวิชาการทางศาสนา • ส่งเสริมกิจกรรมวันสำคัญทางศาสนาร่วมกันกับศาสนาสถาน 3 4 ภาคี 1 2 • ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผน • สนับสนุนการจัดทำเวทีประชาคม • เสริมสร้างสภาเยาวชน • พัฒนาแกนนำในชุมชนให้มีทักษะในการจัดทำแผนบูรณาการ • พัฒนาการบริหารจัดการให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ • เสริมสร้างระบบติดตามและประเมินผลตรวจสอบให้เข้มแข็ง • สร้างจิตสำนึกรับผิดชอบร่วมกัน • เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม • พัฒนากลุ่ม/องค์กร/ชมรม กองทุนให้เข้มแข็ง • สนับสนุนให้ความรุ้แก่สมาชิก • ติดตามประเมินผลทีเข้มแข็ง • อบรมให้ความรู้สมาชิกอย่างต่อเนื่อง/ศึกษาดูงาน 3 • ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน • สนับสนุนการจัดกิจกรรมพิธีสำคัญทางศาสนา • สนับสนุนการจัดกิจกรรมวันสำคัญต่างๆ • ส่งเสริมกิจกรรมพื้นบ้าน • พัฒนาระบบสื่อสาร และประชาสัมพันธ์ให้ทันสมัย • สนับสนุนให้มีหอกระจายข่าว • สร้างศูนย์ข้อมูลประจำหมู่บ้าน/พัฒนาระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย • สนับสนุนการจัดงานเมาลิดได้ดียิ่งขึ้น • มุ่งเน้นการประชาสัมพันธ์ • ส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักธรรมทางศาสนา • สนับสนุนทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วมกิจกรรมงานเมาลิด • เผยแพร่ หลักธรรมของศาสนา • พัฒนาระบบติดตามผลอย่างมีประสิทธิภาพ • สร้างเครื่องมือในการติดตามประเมินผล • ปรับปรุงข้อมูลให้นำไปใช้ประโยชน์ • พัฒนาความรู้ บุคลากรให้มีคุณภาพ 4 กระบวนการ 1 2 5 7 6 • เพิ่มความรู้ เพิ่มทักษะ ความสามารถของบุคลากรในชุมชนอย่างทั่วถึง • จัดให้มีกาควรแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ • เชิญผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้ในชุมชน • จัดให้มีสถานที่ที่เหมาะสม • การพัฒนาองค์ความรู้ด้านต่างๆ ให้แก่ชุมชนอย่างต่อเนื่อง • จัดให้มีการฝึกอบรม • จัดการศึกษาดูงานของหน่วยงานอื่น/องค์กรอื่น • ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชน • พัฒนาข้อมูลพื้นฐานทุกระดับให้ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน • จัดทำแบบสอบถามเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานด้านต่างๆ • สัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเก็บข้อมูล • ประเมินผลการจัดเก็บข้อมูลทุกระดับให้สามารถนำไปใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ • สร้างจิตสำนึกสาธารณะที่ดีให้แก่คนในชุมชน • จัดให้มีการอบรมในระดับหมู่บ้าน/ตำบล • ให้มีกิจกรรมกลุ่มร่วมพัฒนาสถานที่สาธารณะ • ร่วมรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ • ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้กับคนในชุมชนอย่างทั่วถึง • จัดให้มีการอบรมให้ประชาชน และรณรงค์การนำหลักศาสนามาใช้ในชีวิตประจำวัน • ปลูกจิตสำนึกแบบอย่างที่ดี • มอบรางวัลให้กับบุคคลดีเด่นในด้านคุณธรรม/จริยธรรม • เพิ่มจุดเด่น เอกลักษณ์ของตำบล • จัดประกวดการแต่งกายตามแบบประเพณ๊ท้องถิ่น • จัดกิจกรรมในวันสำคัญต่างๆอย่างต่อเนื่อง • ให้เยาวชนมีส่วนร่วมในทุกๆ ด้าน พื้นฐาน 2 3 4 1 5 6

  21. เป็นการระบุวิธีการหลักๆ “เราต้องทำอย่างไร?” ที่จะให้ได้มาหรือบรรลุ ซึ่งวัตถุประสงค์ในช่องที่ 4 “ไม่ใช่นำกิจกรรม มาใช้เป็นกลยุทธ์” นิยมใช้คำว่า -พัฒนา,เพิ่ม,เร่งรัด -ส่งเสริม, สนับสนุน -สร้าง,จัดทำ,จัดหา เป็นการเขียนอธิบายว่าการที่จะไปให้ถึงจุดหมายปลายทางของแต่ละมุมมองนั้น...เราต้องทำอะไร ? ตารางกำหนดวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์และกลยุทธ์สำคัญ (ตาราง 5 ช่อง) เป็นการนำจุดหมายปลายทางจากขั้นตอนที่ 2 มาใส่ (ผู้บริหารเห็นชอบ และพิจารณาแล้วว่าอยู่ในวิสัยที่จะเป็นไปได้) ควรระบุ 3-5 กลยุทธ์ ต่อ 1 วัตถุประสงค์

  22. ตารางกำหนดวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์และกลยุทธ์สำคัญ (ตาราง 5 ช่อง)

  23. ตารางกำหนดวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์และกลยุทธ์สำคัญ (ตาราง 5 ช่อง)

  24. วิธีการสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ 1.แบ่งพื้นที่กระดาษเป็น 4 ระดับ ตามมุมมองต่างๆ โดยระดับบนสุด คือ ระดับประชาชน ระดับภาคี ระดับกระบวนการ ระดับพื้นฐาน ขีดเส้นประคั่นแต่ละมุมมอง ตัวอย่าง

  25. ผังจุดหมายปลายทาง การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระดับชุมชนท้องถิ่นภายใต้การสนับสนุนของระบบหลักประกันสุขภาพ (กองทุนสุขภาพตำบล) ภายในปี พ.ศ. 2553 (ระยะเวลา 2 ปี) ระดับประชาชน (Valuation) ระดับภาคี (Stakeholder) ระดับกระบวนการ (Management) ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)

  26. วิธีการสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ 2.นำจุดหมายปลายทาง มาปรับใช้ให้เกิดการดำเนินงาน โดยกำหนดวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์แต่ละระดับสั้นๆ โดยกล่องละ 1 วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ (ทั้ง 4 ระดับ) 3.กำหนดกลยุทธ์ที่สำคัญของแต่ละวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์แต่ละระดับมาเขียนเป็น หัวข้อย่อยในกล่องวัตถุประสงค์จนครบทุกกล่อง (3-5 กลยุทธ์)

  27. แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาตำบลโพนแพงเข้มแข็ง สู่สังคมอยู่เย็นเป็นสุข ภายในปี พ.ศ. 2553 17/5/50 นำมาจากผังจุดหมายปลายทาง(ผู้บริหารเห็นชอบและพิจารณาแล้วว่าอยู่ในวิสัยที่จะเป็นไป)... เราต้องทำอะไร ?(ยุทธศาสตร์) • จัดทำแผนงานโครงการของชุมชน • จัดเวทีประชาคม • จัดทำโครงการเสนองบประมาณ • ติดตามผลการดำเนินกิจกรรม • รณรงค์ให้ชุมชนห่างไกลยาเสพติด • ฝึกอบรมเพื่อปลูกจิตสำนึกแก่ชุมชน • จัดกิจกรรมรณรงค์ • สร้างขวัญและกำลังใจ • ส่งเสริม/อนุรักษ์ให้เห็นความสำคัญของวัฒนธรรมภายในชุมชน • จัดกิจกรรมตามจารีตประเพณี(ฮีต 12 ครอง 14) • จัดทำหลักสูตรภูมิปัญญาท้องถิ่น • ค้นหาคนดี ศรีโพนแพง • สนับสนุนการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรฯของชุมชน และภาคีพัฒนา • จัดเวทีเพื่อสร้างความเข้าใจ แกนนำระดับตำบล • ประชาสัมพันธ์ • ร่วมกันพัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ กำหนดกลยุทธ์(3-5 กลยุทธ์ต่อ1 เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์)“เราต้องทำอย่างไร?”ซึ่งเป็นแนวทางหลักๆ ที่จะให้ได้ตามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์“ไม่ใช่นำกิจกรรม มาใช้เป็นกลยุทธ์” นิยมใช้คำว่า - พัฒนา, เพิ่ม - ส่งเสริม, สนับสนุน - สร้าง,สร้างเสริม • ส่งเสริม/สนับสนุน ดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง • จัดทำบัญชีครัวเรือน • ส่งเสริมอาชีพในครัวเรือน • ลดต้นทุนด้านการผลิต • ส่งเสริมให้การศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพ • สำรวจผฝุ้ไม่จบการศึกษาภาคบังคับ • วางแผนร่วมกัน • ติดตามประเมินผล ประชาชน • สร้างเวทีพบปะหน่วยงานสนับสนุนงบประมาณ • จัดเวทีหารือร่วมกัน • นำเสนอแผนงาน/โครงการ • เชิญหน่วยงานภาคีลงพื้นที่ • ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจระหว่าง รร.และชุมชน • จัดประชุมสร้างความเข้าใจบทบาทและหน้าที่ของ รร.และชุมชน • จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ในวันสำคัญ • ส่งเสริม และพัฒนาด้านกีฬา • จัดอบรมบุคลากรด้านกีฬา • ประชาสัมพันธ์เรื่องกีฬา • พัฒนาศักยภาพของอสม. • จัดฝึกอบรมให้ความรู้ด้านสาธารณสุข • จัดหาวัสดุอุปกรณ์เวชภัณฑ์ยาเพื่อให้การบริการ • จัดงานวัน อสม.ของโพนแพง ภาคี • สร้างเชื่อมร้อยเครือข่ายของกลุ่มอาชีพต่างๆ • สร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพต่างๆในชุมชน • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของกลุ่มต่างๆ • สร้าง/ส่งเสริม ผู้ฝึกสอน ตามความสนใจ/ต้องการของแต่ละกลุ่ม • สำรวจความต้องการ/ความสนใจของชุมชน • จัดกลุ่มตามความต้องการ/ความสนใจ • จัดทำแผน • ดำเนินการฝึกอบรมความต้องการและสนใจของกลุ่ม • สร้างเวทีแสดงความสามารถของชุมชน • สำรวจและรวบรวมข้อมูลความสามารถของ ปชช. • จัดเวทีประชาคม • จัดทำแผนฯ • จัดกิจกรรม • ส่งเสริม/สร้าง ความตระหนักให้กับปชช.เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ • สำรวจ และจัดเก็บข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ • รณรงค์เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่ได้จากข้อมูลการสำรวจ • ติดตาม+ประเมินผล • ส่งเสริม/สร้าง /จัดตั้งสหกรณ์การเกษตร/กลุ่มอาชีพ • สำรรวจกลุ่มอาชีพต่างๆ • แต่งตั้งคณะกรรมการกลุ่ม • จัดทำแผนบูรณาการกลุ่ม • สร้าง/สนับสนุนระบบติดตามประเมินผล และสามารถตรวจสอบได้ • ตั้งคณะกรรมการ • ศึกษาดูงานตัวอย่างดีๆ • บูรณาการการบริหารจัดการแต่ละองค์กร กระบวนการ • จัดหา/ส่งเสริมเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับชุมชน • สำรวจข้อมูลด้านเทคโนโลยี • แยกแยะ คัดกรอง พัฒนา ปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพ • จัดหาให้เพียงพอกับความต้องการของชุมชน • จัดตั้งและพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ชุมชนในหมู่บ้าน • พัฒนา ศสมช.เป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตามความต้องการของชุมชน • จัดผู้เชี่ยวชาญเป็นวิทยากรศูนย์ • จัดหาอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการเรียนรู้ของชุมชน • จัดหาสถานที่เหมาะสมจัดตั้งศูนย์ • ส่งเสริมการเรียนรู้ • จัดการอบรม • ศึกษาดูงาน • จัดเวที/ตลาดนัดการเรียนรู้ของชุมชน • ส่งเสริม อสม ให้มีบทบาทการมีส่วนร่วมในชุมชน • อบรมความรู้ ความสามารถของ อสม. • จัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ • จัดหางบประมาณ วัสดุอุปกรณ์การทำงาน • ประเมินขีดความสามารถ อสม. ตัวอย่าง พื้นฐาน

  28. วิธีการสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ 4.กำหนดความเชื่อมโยงเชิงเหตุผลของแต่ละ กล่องวัตถุประสงค์ของแต่ละระดับว่ามี ความสัมพันธ์ต่อกันระหว่างระดับที่เหนือขึ้นไป พร้อมทั้งเขียนลูกศรเชื่อมโยงวัตถุประสงค์แต่ ละกล่องในแต่ละระดับ

  29. Workshop 3 (2) ตรวจสอบความเชื่อมโยง ระหว่างแผนที่ยุทธศาสตร์กับยุทธศาสตร์

  30. การตรวจสอบความเชื่อมโยงระหว่างแผนที่ยุทธศาสตร์กับยุทธศาสตร์การพัฒนาการตรวจสอบความเชื่อมโยงระหว่างแผนที่ยุทธศาสตร์กับยุทธศาสตร์การพัฒนา นำแผนที่ยุทธศาสตร์ที่จัดทำขึ้น มาพิจารณาและตรวจสอบว่าวัตถุประสงค์ทั้งหมดในแต่ละระดับต้องสนองต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาใดบ้าง?

  31. ยุทธศาสตร์กระบวนการทั้ง 5 ในงานสร้างสุขภาพ 1.เสริมสร้างพลังใจ 2.ปรับบทบาทบุคลากร /แกนนำ 5.สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างองค์กร ยุทธศาสตร์ 4.สร้างระบบสนับสนุนที่ดี 3.ปรับบทบาทคนในสังคม

  32. ตัวอย่าง

  33. Workshop 4 (1)สร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM)

  34. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) คืออะไร ? • วัตถุประสงค์ที่สำคัญ ที่จะทำ ภายใน 1 ปี เพื่อบรรลุจุดหมายปลายทางที่กำหนด • แสดงชุดผลลัพธ์ที่จะได้ ถ้ากิจกรรม เหล่านั้นให้ผลตามคาด • เป็นภาพในสายตาของผู้บริหาร ไม่ใช่ผัง การปฏิบัติงาน ประโยชน์ • ให้ความกระจ่างกับคณะผู้บริหารถึงสิ่งที่ จะต้องทำ และโอกาสของการติดตาม ความก้าวหน้า • เป็นภาพง่ายๆเพียงหน้าเดียว ใช้เป็น เครื่องมือสื่อสารทั้งภายในและนอก

  35. การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการการสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ 1.จากแผนที่ยุทธศาสตร์หลัก แต่ละองค์กรจะพัฒนาแผนที่เฉพาะส่วนของตนเรียกว่าแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (Strategic Linkage Model - SLM) โดยใช้กระบวนการเดียวกันทุกองค์กร ลงไปจนถึงการตั้งเป้าหมายและเครื่องชี้วัดปฏิบัติการ (Performance Target & Indicator) 2. พิจารณาวัตถุประสงค์พร้อมกลยุทธ์ของแต่ละวัตถุประสงค์ในแต่ละระดับว่ามีกิจกรรมสำคัญอะไรที่จะต้องปฏิบัติภายใน 1 ปี เพื่อบรรลุจุดหมายปลายทางที่กำหนดใน 2 มุมมองข้างล่าง และจะเกิดผลลัพธ์สำคัญอะไร ( 2 มุมมองข้างบน)

  36. แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนาตำบลควนโดนน่าอยู่ จ.สตูล สร้างชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข ภายในปี พ.ศ. 2553 26/4/50 • ส่งเสริมการประกอบอาชีพอย่างเป็นระบบ • พัฒนากลุ่มอาชีพทุกกลุ่มให้ได้มาตรฐาน • สนับสนุนเทคโนโลยีและงบประมาณ • จัดหาตลาดแหล่งขาย เพื่อรองรับ • ส่งเสริมให้ชุมชนและครอบครัวมีกิจกรรมร่วมกัน • อบรมให้ความรู้ทางศาสนา และสังคม • จัดกิจกรรมร่วมกันในชุมชนและต่อเนื่อง • จัดเวทีประชาคม • รณรงค์/ส่งเสริมให้ชุมชนปลอดภัยจากเหตุการณ์ที่เป็นภัยต่อคนในชุมชน • รณรงค์ร่วมกันในชุมชน • ประชาสัมพันธ์ • ใช้มาตราการทางศาสนา และสังคมอย่างจริงจัง • จัดให้มีระบบการตรวจสอบที่ถูกต้อง • พัฒนาให้ทุกชุมชนมีการจัดทำแผนงานและโครงการของชุมชน • อบรมแกนนำ เพื่อทำแผนงาน โครงการ • จัดทำประชาคม • พัฒนากระบวนการวางแผนงาน/โครงการร่วมกันของชุมชน • พัฒนาและส่งเสริมการทำหัตถกรรมพื้นบ้าน • ฟื้นฟูภูมิปัญญาท้องถิ่น • การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ • ประสานงานร่วมกับกลุ่มต่างๆในชุมชน • ส่งเสริมด้านการตลาด 5 3 ประชาชน 4 ผลลัพธ์สำคัญ ตัวอย่าง 1 2 • ภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจ/เอกชน จัดทำแผนงานร่วมแบบบูรณาการระหว่างหน่วยงาน • ประสานงานทุกภาคส่วน • จัดทำแผน/โครงการ • ปฏิบัติตามแผน • ติดตามประเมินผล • เครือข่ายกลุ่ม/องค์กร/ชมรม/กองทุน ส่งเสริมให้ทุกองค์กรมีส่วนนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การตัดสินใจ • จัดเวทีประชาคม • จัดทำแผนแบบบูรณาการนำแผนไปปฏิบัติ • ติดตามประเมินผล • อบต./ อบจ./นพค.45 จัดทำแผนงานแบบบูรณาการระหว่างหน่วยงาน • ประสานงานทุกภาคส่วน • จัดทำแผนงาน/โครงการ • ปฏิบัติตามแผนงาน • ติดตามประเมินผล • องค์กรทางศาสนา สร้างสัมพันธ์ภาพที่ดี • ส่งเสริมการอ่านคำภีร์อัลกุรอ่าน หนังสือธรรมะตามแนวทางศาสนามากขึ้น โดยผู้นำศาสนา • ส่งเสริมให้มีการแข็งขันทักษะวิชาการทางศาสนา • ส่งเสริมกิจกรรมวันสำคัญทางศาสนาร่วมกันกับศาสนาสถาน 3 4 ภาคี 1 2 • ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผน • สนับสนุนการจัดทำเวทีประชาคม • เสริมสร้างสภาเยาวชน • พัฒนาแกนนำในชุมชนให้มีทักษะในการจัดทำแผนบูรณาการ • พัฒนาการบริหารจัดการให้โปร่งใส ตรวจสอบได้ • เสริมสร้างระบบติดตามและประเมินผลตรวจสอบให้เข้มแข็ง • สร้างจิตสำนึกรับผิดชอบร่วมกัน • เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม • พัฒนากลุ่ม/องค์กร/ชมรม กองทุนให้เข้มแข็ง • สนับสนุนให้ความรุ้แก่สมาชิก • ติดตามประเมินผลทีเข้มแข็ง • อบรมให้ความรู้สมาชิกอย่างต่อเนื่อง/ศึกษาดูงาน 3 • ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน • สนับสนุนการจัดกิจกรรมพิธีสำคัญทางศาสนา • สนับสนุนการจัดกิจกรรมวันสำคัญต่างๆ • ส่งเสริมกิจกรรมพื้นบ้าน • พัฒนาระบบสื่อสาร และประชาสัมพันธ์ให้ทันสมัย • สนับสนุนให้มีหอกระจายข่าว • สร้างศูนย์ข้อมูลประจำหมู่บ้าน/พัฒนาระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย • สนับสนุนการจัดงานเมาลิดได้ดียิ่งขึ้น • มุ่งเน้นการประชาสัมพันธ์ • ส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักธรรมทางศาสนา • สนับสนุนทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วมกิจกรรมงานเมาลิด • เผยแพร่ หลักธรรมของศาสนา • พัฒนาระบบติดตามผลอย่างมีประสิทธิภาพ • สร้างเครื่องมือในการติดตามประเมินผล • ปรับปรุงข้อมูลให้นำไปใช้ประโยชน์ • พัฒนาความรู้ บุคลากรให้มีคุณภาพ 4 กระบวนการ 1 2 5 กิจกรรมสำคัญ 7 6 • เพิ่มความรู้ เพิ่มทักษะ ความสามารถของบุคลากรในชุมชนอย่างทั่วถึง • จัดให้มีกาควรแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ • เชิญผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้ในชุมชน • จัดให้มีสถานที่ที่เหมาะสม • การพัฒนาองค์ความรู้ด้านต่างๆ ให้แก่ชุมชนอย่างต่อเนื่อง • จัดให้มีการฝึกอบรม • จัดการศึกษาดูงานของหน่วยงานอื่น/องค์กรอื่น • ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชน • พัฒนาข้อมูลพื้นฐานทุกระดับให้ถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน • จัดทำแบบสอบถามเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานด้านต่างๆ • สัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเก็บข้อมูล • ประเมินผลการจัดเก็บข้อมูลทุกระดับให้สามารถนำไปใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ • สร้างจิตสำนึกสาธารณะที่ดีให้แก่คนในชุมชน • จัดให้มีการอบรมในระดับหมู่บ้าน/ตำบล • ให้มีกิจกรรมกลุ่มร่วมพัฒนาสถานที่สาธารณะ • ร่วมรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ • ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้กับคนในชุมชนอย่างทั่วถึง • จัดให้มีการอบรมให้ประชาชน และรณรงค์การนำหลักศาสนามาใช้ในชีวิตประจำวัน • ปลูกจิตสำนึกแบบอย่างที่ดี • มอบรางวัลให้กับบุคคลดีเด่นในด้านคุณธรรม/จริยธรรม • เพิ่มจุดเด่น เอกลักษณ์ของตำบล • จัดประกวดการแต่งกายตามแบบประเพณ๊ท้องถิ่น • จัดกิจกรรมในวันสำคัญต่างๆอย่างต่อเนื่อง • ให้เยาวชนมีส่วนร่วมในทุกๆ ด้าน 1 2 พื้นฐาน 3 4 5 6

  37. การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการการสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ 3.พิจารณาเลือกทางเดินที่สำคัญที่สุดที่จะทำให้ไปถึงจุดหมายปลายทางที่สะดวกรวดเร็วที่สุด เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด ภายในเวลาสั้นที่สุด(มีจำนวนน้อยกว่าแผนที่หลัก เท่าที่จำเป็นใช้ในช่วงเวลาที่กำหนด) 4.ในช่วงเวลานี้ สามารถปรับแผนที่ฉบับ ปฏิบัติการได้ ถ้าการดำเนินงานส่อเค้าว่างานจะไม่เป็นไปตามแผน 5.การใช้ประโยชน์ของแผนที่ยุทธศาสตร์ จะกระทำที่แผนที่ฉบับนี้ จะทำให้การพัฒนาเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ทุกฝ่ายทราบว่าจะร่วมมือเรื่องอะไร กับใคร ได้เมื่อใด

  38. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การพัฒนาคุณภาพบริการสุขภาพชุมชน ฅนเดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี ภายในปี 2550 (ระยะ 1 ปี) 12. พัฒนาความพึงพอใจในบริการสุขภาพ 10.สร้างและพัฒนาแกนนำระดับชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตัวอย่าง ประชาชน 11.ชุมชนสามารถพึ่งตนเองในการดูแลสุขภาพได้ 8.อปท.และองค์กรในชุมชน มีส่วนร่วมสนับสนุนทรัพยากรและดำเนินงานด้านสุขภาพ 9.โรงเรียนและวัดมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพ ภาคี 7. องค์กรภาครัฐและเอกชน สนับสนุนและเข้าร่วม ดำเนินงานกิจกรรมด้านสุขภาพ 6. พัฒนาระบบประสานงานและการสื่อสารที่ ดีทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน กระบวนการ 4. พัฒนาระบบนิทศ ติดตามและประเมินผลที่ดี 5. สร้างระบบการประสาน แผนระหว่างองค์กร 2. พัฒนาสถานบริการสาธารณสุขของรัฐให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน(HA/HPP/PCU) ทุกแห่ง 3.สร้างศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง พื้นฐาน 1.การพัฒนาฐานข้อมูลด้าน สุขภาพ (8 ตุลาคม 2549)

  39. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) ตำบลป่าพะยอม พ.ศ. 2550 ประชาชนกินดี อยู่ดี มีสุข ชุมชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ชุมชนปลอดยาเสพติด ปชช.มีรายได้พอเพียงจากอาชีพเสริม ประชาชน กองทุนที่เข้มแข็งทั้งตำบลทุกกองทุน (7 หมู่บ้าน) ตัวอย่าง เครือข่ายชุมชนมีส่วนร่วม และดำเนินการอย่างต่อเนื่อง สื่อสารมวลชน/อบต./อบจ./ผู้ว่าซีอีโอ/สปสช. และ สสส.ฯลฯสนับสนุน ภาคี เครือข่าย ม.ทักษิณมีบทบาทสนับสนุนด้านวิชาการอย่างต่อเนื่อง องค์กรภาครัฐทำงานเชิงรุก เพื่อตอบสนองชุมชน อบต.มีภาพลักษณ์ ธรรมาภิบาล กระบวนการ การบริหารจัดการของอบต.ทุกโครงการ ตรวจสอบได้ เป็นธรรมและมีการประเมินผล ระบบสื่อสารสองทางที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายและเนื้อหา ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ชุมชนมีวัฒนธรรมที่ดี พื้นฐาน สถาบันศาสนา,สถาบันการศึกษา มีบทบาท แกนนำมีทักษะที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต ฐานข้อมูลครบถ้วน ถูกต้องทันสมัย

  40. องค์กรเข้มแข็ง มีชมรม/เครือข่าย สุขภาพ มีระบบเฝ้าระวังชุมชน/พื้นที่ ระบบบริการมีมาตรฐาน ผู้รับบริการพึงพอใจ อัตราป่าย/ตาย ลดลง มีโครงการของชุมชน 12 13 ประชาชน 14 10 9 ภาคี 11 6 8 7 กระบวนการ 5 3 4 1 พื้นฐาน 2

  41. การจัดกลุ่มงาน(Job Family) เกิดการตัดสินใจเชิงนโยบาย (อรพิน ,นิพิท) อรพิน ,มะลิวัลย์ 4 ประชาชน ตัวอย่าง เกิดการใช้ประโยชน์ทางวิชาการ (อารี ,เหมวรรณ, รนิฐา) ภาคีเครือข่ายข้อมูลเข้มแข็ง ภาคีเครือข่ายสนับสนุน ประสานข้อมูล ภาคี (รุ่งจิตร์ ,ชูจิต) (มะลิวัลย์ ,ทับทิม) 3 รุ่งจิตร ,ประทีป การสร้างและการบริหารจัดการเครือข่ายข้อมูล 2 พรรณภา การจัดการความรู้ (KM) (อรพิน , พรรณาภา ,รุ่งจิตร) กระบวนการ 4.การบริหารจัดการเครื่องชี้วัด พัฒนาระบบข้อมูล (ประทีป ,ฐิติพา) (พรรณภา นพวรรณ) (ทับทิม ,เจือทิพ ,จิรฐา) ระบบบริหารจัดการทรัพยากร 1 วิภาดา (วิภาดา ,วิสูตร) บุคลากรมีกำลังใจ ทักษะ และศักยภาพ มีชุดข้อมูลสุขภาพเพื่อการเผยแพร่ พื้นฐาน โครงสร้างที่เหมาะสมกับภารกิจ (จุรีรัตน์ ,ศิริพร) (รพีพร ,ชยาภรณ์) (อรพิน,พรรณภา,รุ่งจิตรตร,วิภาดา,มะลิวัลย์ ,ประทีป)

  42. การจัดกลุ่มงาน(Job Family)การพัฒนาคุณภาพบริการสุขภาพชุมชน ฅนเดิมบางนางบวช จ.สุพรรณบุรี ภายในปี 2550 (ระยะ 1 ปี) 12. พัฒนาความพึงพอใจในบริการสุขภาพ 10.สร้างและพัฒนาแกนนำระดับชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตัวอย่าง ประชาชน 11.ชุมชนสามารถพึ่งตนเองในการดูแลสุขภาพได้ 5 วราพร/สุนิสา 8.อปท.และองค์กรในชุมชน มีส่วนร่วมสนับสนุนทรัพยากรและดำเนินงานด้านสุขภาพ 4 9.โรงเรียนและวัดมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพ ประชา/มงคล ภาคี 7. องค์กรภาครัฐและเอกชน สนับสนุนและเข้าร่วม ดำเนินงานกิจกรรมด้านสุขภาพ 3 กรรณิการ์/ประดิษฐ์ 6. พัฒนาระบบประสานงานและการสื่อสารที่ ดีทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน (สุเพ็ญ/สมพร/วรวิทย์/มงคล) กระบวนการ 4. พัฒนาระบบนิทศ ติดตามและประเมินผลที่ดี 5. สร้างระบบการประสาน แผนระหว่างองค์กร 1 2 ชวนพิศ บุษกร/วันทนา 2. พัฒนาสถานบริการสาธารณสุขของรัฐให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน(HA/HPP/PCU) ทุกแห่ง 3.สร้างศูนย์การดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง พื้นฐาน 1.การพัฒนาฐานข้อมูลด้าน สุขภาพ (8 ตุลาคม 2549)

  43. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) 2 ฉบับ • ฉบับผู้บริหารแสดงเฉพาะเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ ดังตัวอย่างข้างซ้าย • ฉบับผู้จัดการแสดงกลยุทธ์สำคัญใต้กล่องเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ด้วย • SLMเป็นฉบับที่ปรับปรุง • เปลี่ยนแปลงได้โดยคณะผู้บริหาร • (CEO)

  44. การใช้ SLM เป็นศิลปะของการบริหาร • SLMจะมีประโยชน์สูงสุด ต่อเมื่อสามารถก่อให้เกิดการเสริมพลัง (Synergistic Effect)ระหว่างแผนงานขององค์กรที่หลากหลายทุกภาคส่วน ภายใต้แผนฯร่วมที่มีทิศทางไปสู่จุดมุ่งหมายเดียวกัน • กล่าวอีกนัยหนึ่ง คือการทำให้ผลรวมมีมูลค่าสูงกว่าผลลัพธ์ย่อยๆของแต่ละองค์ประกอบรวมกัน หรือทำให้ 1+1 = 4

  45. Workshop 4 (2) สร้างกลุ่มภารกิจงานและวางตัวบุคลากร

  46. การจัดกลุ่มภารกิจงาน 1.จากแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (Strategic Linkage Model - SLM) จะพิจารณาวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ที่เป็นเรื่องเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน รวมทั้งส่งผลต่อกัน ให้เป็นกลุ่มภารกิจเดียวกัน 2. กลุ่มภารกิจ ที่จัด ควรมีภาระงานที่ใกล้เคียงกัน และซ้อนทับ/เชื่อมโยงกันทุกกลุ่ม 3. ไม่ควรจัดกลุ่มภารกิจงานให้อยู่ในมุมมองหรือระดับเดียวกันทั้งหมด และไม่เป็นแท่ง(Silo) ที่ไม่เกี่ยวข้องกัน 4. วางตัวบุคลากรที่รับผิดชอบแต่ละกลุ่มภารกิจงาน

  47. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) ตำบลป่าพะยอมพ.ศ. 2550 ประชาชนกินดี อยู่ดี มีสุข ปชช.มีรายได้พอเพียงจากอาชีพเสริม (น้าเผือน และ ประคอง) ชุมชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (สุพล) ชุมชนปลอดยาเสพติด (บัญญติ ,ผญ.ประสาท) ประชาชน กองทุนที่เข้มแข็งทั้งตำบลทุกกองทุน (7 หมู่บ้าน) (ปรีชา) ตัวอย่าง กลุ่มงานที่ 4คุณนพพร เครือข่ายชุมชนมีส่วนร่วม และดำเนินการอย่างต่อเนื่อง (ผญบ.สันทัด) สื่อสารมวลชน/อบต./อบจ./ผู้ว่าซีอีโอ/สปสช. และ สสส.สนับสนุน (อ.อมร) ภาคี เครือข่าย ม.ทักษิณมีบทบาทสนับสนุนด้านวิชาการอย่างต่อเนื่อง (พรรณวดี) องค์กรภาครัฐทำงานเชิงรุก เพื่อตอบสนองชุมชน (นุชรี ,อรวรรณ) อบต./อบจ.มีภาพลักษณ์ ธรรมาภิบาล (ปลัด อบต.) กลุ่มงานที่ 3 อ.เสนอ กลุ่มงานที่ 2อ.วิโรจน์ กระบวนการ ระบบสื่อสารสองทางที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายและเนื้อหา (ผญบ..มีศักดิ์) การบริหารจัดการของอบต.ทุกโครงการ ตรวจสอบได้ เป็นธรรมและมีการประเมินผล (ชัยวัฒน์) กลุ่มงานที่ 1อ.ละเอียด ชุมชนมีวัฒนธรรมที่ดี (จรัญ,สมนึก) พื้นฐาน ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน (บุญชู,เกษร ,สุจินต์และสำรวย) สถาบันศาสนา,สถาบันการศึกษา มีบทบาท (อรพิณ) แกนนำมีทักษะที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต (ชุติวรรณ ,นงเยาว์ และแผ้ว) ฐานข้อมูลครบถ้วนถูกต้องทันสมัย (หมอวุฒิชัย ยุพา และจิราภรณ์)

  48. ระบบบริหารจัดการยุทธศาสตร์ระบบบริหารจัดการยุทธศาสตร์ เครื่องมือสื่อสารขององค์กร หนทางสู่การเปลี่ยนความคิด จิตใจ ต้องใช้ความคิดแหลมคมทั้งระดับยุทธศาสตร์และปฏิบัติ การสร้างนวัตกรรม การสร้างสมดุลระหว่างมุมมองต่างๆ การสร้างความรับผิดชอบ การปรับวิสัยทัศน์กับปฏิบัติการให้สอดคล้องกัน ดัชนีเครื่องชี้วัดปฏิบัติการเท่านั้น บริการข้อมูล /ศึกษาของผู้บริหาร โครงการชั่วครั้งชั่วคราว การปฏิบัติการไปตามโครงการที่มีอยู่แล้ว การปฏิบัติการไปวันๆ การนำเครื่องชี้วัดอะไรก็ได้บรรจุลงไปในแผนที่ฯ การควบคุมที่เข้มงวดเป็นรายบุคคล การใช้เทคนิคการบริหารแปลกใหม่ สรุป แผนที่ยุทธศาสตร์ คือ ไม่ใช่

  49. แผนที่ยุทธศาสตร์กับบุคลากรในองค์กรแผนที่ยุทธศาสตร์กับบุคลากรในองค์กร ทำให้ทุกคนในพื้นที่/องค์กรตอบคำถามได้ว่า “เรากำลังทำอะไรที่เป็นสิ่งสำคัญสำหรับพื้นที่/ องค์กรของเรา” • แผนที่ยุทธศาสตร์ให้คำตอบว่าสิ่งที่สำคัญสำหรับ • พื้นที่/องค์กรคืออะไร?...การเชื่อมเครือข่าย..?? • (การพัฒนาความครอบคลุม/การเรียนรู้/ภาคส่วนที่ร่วมงาน/ • ประสิทธิภาพใหม่ๆ ฯลฯ) • เป้าประสงค์สูงสุดของแผนที่ยุทธศาสตร์ คือทำให้ • พันธกิจและยุทธศาสตร์ขององค์กรเป็นงานของทุก • คน/ทุกพื้นที่/ทุกเครือข่าย

  50. สุทธิพงษ์ วสุโสภาพล ผู้ชำนาญการ สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ(สช.) คณะกรรมการกำกับและติดตามการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค(สธ.) กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ คณะกรรมการสนับสนุนและพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (สปสช.) E-mail:Suttipong_va@hotmail.com โทร.081-8855365

More Related