1 / 29

สุขศาสตร์ทางเคมี Chemical Hygiene

สุขศาสตร์ทางเคมี Chemical Hygiene. สุขศาสตร์เกี่ยวกับสารเคมี หมายถึง เป็นมาตรฐานประจำห้องปฏิบัติการจัดทำขึ้นโดยบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับหลายฝ่ายร่วมกันควรได้รับการทบทวนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง. สุขศาสตร์เกี่ยวกับสารเคมี วัตถุประสงค์

kylee-shaw
Download Presentation

สุขศาสตร์ทางเคมี Chemical Hygiene

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สุขศาสตร์ทางเคมี Chemical Hygiene

  2. สุขศาสตร์เกี่ยวกับสารเคมีสุขศาสตร์เกี่ยวกับสารเคมี หมายถึง • เป็นมาตรฐานประจำห้องปฏิบัติการจัดทำขึ้นโดยบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับหลายฝ่ายร่วมกันควรได้รับการทบทวนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

  3. สุขศาสตร์เกี่ยวกับสารเคมีสุขศาสตร์เกี่ยวกับสารเคมี วัตถุประสงค์ • 1.) เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ รวมทั้งผู้เยี่ยมชม • 2.) เพื่อเตรียมอุปกรณ์ด้านความปลอดภัยให้พอเพียงต่อผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ • 3.) เพื่อลดโอกาสในการสัมผัสต่อสารเคมีให้อยู่ในระดับต่ำที่สุด • 4.) เพื่อลดความเสี่ยงจากการเกิดอุบัติภัยสารเคมีขึ้นในห้องปฏิบัติการ • 5.) เพื่อป้องกันสิ่งแวดล้อมจากมลพิษสารเคมี และของเสียที่เกิดจากสารเคมีอันตราย • 6.) เพื่อให้มีการตรวจสอบความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการอย่างสม่ำเสมอ

  4. สุขศาสตร์เกี่ยวกับสารเคมีสุขศาสตร์เกี่ยวกับสารเคมี ประกอบด้วย

  5. 1.ข้อมูลที่ควรทราบและการอบรบเกี่ยวกับอันตรายของสารเคมีที่ใช้ ซึ่งควรรวมถึงการป้องกันอันตราย แนวปฏิบัติการใช้อุปกรณ์ ป้ายและเครื่องหมาย -หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน -ระบบเตือนภัย ประตู และทางออกฉุกเฉิน -ที่ตั้งของฝักบัวฉุกเฉิน อ่างล้างหน้าฉุกเฉิน เครื่องปฐมพยาบาลเบื้องต้นและเครื่องดับเพลิง -สถานที่เก็บสารเคมี -เขตหวงห้าม -อันตรายของสารเคมีและของเสียอันตราย

  6. ข้อมูลและการอบรบ OSHA Standard • OSHA คือ กฎหมายด้านความปลอดภัยและสุขภาพในการประกอบอาชีพปี 1970 ของสหรัฐ ซึ่งต้องการให้ลูกจ้างทุกคนได้รับภาวะอนามัยที่ดีในทางอุตสาหกรรม ความปลอดภัย หรือโปรแกรมสุขภาพในการประกอบอาชีพ ได้ถูกนำมาบังคับใช้โดยหน่วยงานที่เรียกว่า Occupational Safety and Health Administration (OSHA) มีหน่วยงานที่มีเครื่องมือด้านความปลอดภัยซึ่งผ่านเกณฑ์คุณสมบัติของ OSHA ในการให้ความช่วยเหลือห้องปฏิบัติการต่างๆ เพื่อให้สามารถผ่านเกณฑ์ตามที่กฎหมายกำหนด

  7. ข้อมูลที่ควรทราบ -หน่วยงานที่ดูแลแผนสุขศาสตร์เกี่ยวกับสารเคมี -สัญญาณและสัญลักษณ์เกี่ยวกับการได้รับสารเคมี -เอกสารข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี -เอกสารอ้างอิงอื่นๆ ผู้ปฏิบัติงานทุกคนจะต้องได้รับการอบรบเกี่ยวกับสุขศาสตร์ด้านสารเคมีโดยต้องได้รับรู้อันตรายของสารเคมีต่อสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างการทำงานและวิธีป้องกัน ถ้ามีงานใหม่นอกเหนือจากที่เคยทำปกติ จะต้องมีการอบรบพิเศษ

  8. การอบรบ ในแต่ละปีควรจะมีการอบรบซ้ำเพื่อทบทวนแผน 1. วิธีการจัดและตรวจสอบอันตรายของสารเคมีที่เกิดขึ้น 2. อันตรายทางกายภาพและสุขภาพของสารเคมีในห้องปฏิบัติการ 3. วิธีการป้องกันตนเองจากการได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย ซึ่งรวมถึงวิธีการปฏิบัติมาตรฐาน วิธีแก้ไขเหตุฉุกเฉิน วิธีใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล 4. รายละเอียดของแผนงาน 5. หลักการของพิษวิทยา 6. การใช้เอกสารข้อมูลความปลอดภัย 7. คำแนะนำวิธีการจัดการของเสียอันตราย

  9. วิธีปฏิบัติในการทำงานกับสารเคมีวิธีปฏิบัติในการทำงานกับสารเคมี ถ้าทำตามในแนวปฏิบัติจะช่วยลดโอกาสในการเกิดอันตราย 1. สารเคมีที่เป็นอันตรายทางกายภาพ 2. สารเคมีที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 3. สารเคมีที่เป็นอันตรายสูง 4. สารเคมีที่เกิดขึ้นในห้องปฏิบัติการ

  10. การบันทึกและรายงาน -บันทึกการประเมินและตรวจสอบสารเคมีในสภาพแวดล้อม -บันทึกทางการแพทย์ -บันทึกการอบรบ -บันทึกการตรวจสอบอุปกรณ์ประจำปี เช่น ตู้ดูดควัน อ่างล้างตาฉุกเฉิน -รายงานอุบัติเหตุ -บันทึกรายงานแระการใช้สารเคมี

  11. 2.) การปฏิบัติเฉพาะที่ต้องขออนุญาตก่อนดำเนินการ สารอันตรายที่ไม่สามารถทำโดยพลการ เช่น สารเคมีที่ใช้ทำวัตถุระเบิด สารที่เป็นส่วนประกอบของสารเสพติดเพราะอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ เพราะฉะนั้น เมื่อต้องการนำสารนั้นเข้ามาหรือเราจำเป็นต้องใช้ เราต้องได้รับอนุญาตก่อนและต้องรู้วิธีการใช้อย่างถูกต้องและปลอดภัย

  12. 3.) เกณฑ์ปฏิบัติสำหรับการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล • อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลในห้องปฎิบัติการ(Personal protective equipment) หรือ PPE. มีดังนี้ 1.) อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดกับลูกตา 2.)เสื้อกาวน์ 3.)รองเท้า 4.) ถุงมือ 5.)อุปกรณ์ช่วยหายใจ และ หน้ากากป้องกันไอระเหย

  13. 4.) วิธีการที่ทำให้มั่นใจว่าใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ป้องกันที่เหมาะสม ชุดสวมใส่ป้องกัน ควรเลือกใช้ชุดสวมใส่ป้องกันให้ถูกต้องและเหมาะสมกับระดับความเป็นอันตราย และควรตรวจสอบสภาพความเรียบร้อยของชุดก่อนการใช้งาน เช่น บริเวณตะเข็บซิป รวมถึงตรวจหาลักษณะการเสื่อมสภาพจากการจัดเก็บ เช่น สีซีดจาง บวม หรือเหนียวติดกัน หน้ากากกรองอากาศ ควรตรวจสอบสภาพชิ้นส่วนก่อนการใช้งาน เช่น ไส้กรองอากาศควรเลือกตัวกรองหรือไส้กรองให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการใช้งานและชนิดของสารเคมี

  14. กระบังหน้า แว่นตานิรภัย แว่นตาที่ครอบปิดตา • ควรตรวจสอบรอยร้าว รอยแตก และการเป็นฝ้าของกระบังหน้าและเลนส์ • ถุงมือ • ควรตรวจสอบหารูรั่ว โดยการม้วยถุงมือจากด้านแขนไปยังปลายนิ้ว หรือเป่าลมเข้าไปแล้วจุ่มลงในน้ำ เพื่อตรวจสอบฟองอากาศ • รองเท้า • ควรตรวจสอบรอยรั่วและรอยแตกของรองเท้า และพื้นรองเท้าในการยึดติดพื้น

  15. 5.) กำหนดเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยสุขศาสตร์เกี่ยวกับสารเคมี

  16. ความรับผิดชอบ ผู้บริหารและผู้ประกอบการทุกระดับมีความรับผิดชอบต่อสุขศาสตร์เกี่ยวกับสารเคมี 1. ผู้บริหารระดับสูง -กำหนดและควบคุมให้มีการเขียนแผน -ปรับปรุงให้ทันสมัยและใช้งานได้จริงอยู่เสมอ -แต่งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัยและหัวหน้าสุข ศาสตร์ -รับผิดชอบความปลอดภัยและสุขภาพของบุคลากรทั้งหมดในองค์กร

  17. 2. คณะกรรมการความปลอดภัยและ หัวหน้าสุขศาสตร์เกี่ยวกับสารเคมี ช่วยผู้บริหารระดับสูงสุดในการเขียนแผน และการใช้แผนแนะนำและช่วยเหลือหัวหน้าห้องปฏิบัติการในการอบรบบุคคลากรและการใช้แผนหัวหน้าสุขศาสตร์เกี่ยวกับสารเคมีเป็นประธานคณะกรรมการความปลอดภัย

  18. 3.หัวหน้าห้องปฏิบัติการ3.หัวหน้าห้องปฏิบัติการ - ควบคุมดูแลการใช้แผนในห้องปฏิบัติการที่ได้รับผิดชอบ - ดูแลบุคลากรในสังกัดให้ได้รับการอบรบและปฏิบัติการตามแผน - ดูแลให้มีอุปกรณ์ป้องกันที่เหมาะสมและอยู่ในสภาพใช้งานได้ตามเวลา - กำหนดพื้นที่ทำงานสำหรับงานที่มีอันตรายสูง - จัดให้มีการตรวจสอบสภาพแวดล้อม - จัดให้มีการปรึกษาทางแพทย์ และการตรวจร่างกาย - ประเมินความเสี่ยงต่ออันตราย จัดทำวิธีปฏิบัติเพิ่มสำหรับงานที่อยู่นอกเหนือที่กำหนดในแผน

  19. 4. เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย -ให้คำปรึกษาและช่วยเหลือหัวหน้าห้องปฏิบัติการในการอบรบบุคคลากรใหม่ -เผยแพร่ข้อมูลความปลอดภัย -เป็นผู้นำตรวจสอบห้องปฏิบัติการ -ตรวจสอบและดูแลปรับปรุงรักษาเครื่องมืออุปกรณ์ เช่น อุปกรณ์จัดการการหกเลอะรั่วไหลของสารเคมี อุปกรณ์ดับเพลิง ฝักบัวฉุกเฉิน อ่างล้างตาฉุกเฉิน ฯลฯ

  20. 5.บุคลากรทั่วไป -ทำความเข้าใจและปฏิบัติตามวิธีการที่ระบุในแผน -ทำความเข้าใจในเรื่องที่ได้รับการอบรบ -เข้าใจหลักการและวิธีใช้เครื่องมืออุปกรณ์ป้องกัน -สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลตามที่กำหนด -รายงานอุบัติเหตุยื่นต่อหัวหน้าห้องปฏิบัติการและหัวหน้าสุขศาสตร์เมื่อได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย -ติดต่อหัวหน้าห้องปฏิบัติการหรือหัวหน้าสุขศาสตร์ในกรณีที่ไม่เข้าใจวิธีการต่างๆ

  21. ดังนั้น เมื่อทำงานเกี่ยวกับสารเคมีเราควรปฏิบัติดังนี้ 1. ผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้องมีวิธีปฏิบัติงานที่ถูกต้อง และปลอดภัย 2. บุคลากรทุกคนในห้องปฏิบัติการต้องได้รับการฝึกอบรบ เพื่อให้ทราบวิธีปฏิบัติงานที่ถูกต้องเหมาะสม และปลอดภัยก่อนปฏิบัติจริง -ผู้ปฏิบัติการทุกคนต้องรู้จักสารเคมีที่ใช้ -มีการใช้เครื่องป้องกันอันตราย และอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลที่เหมาะสมกับชนิดของสารเคมี -ต้องมีการจัดการสารเคมีที่ถูกต้อง -จัดทำรายการสารเคมี -ทบทวนความจำเป็นในการใช้สารเคมี และวิธีป้องกันอันตรายจากสารเคมี -ต้องมีระบบการเฝ้าระวัง และตรวจติดตาม

  22. การตรวจสุขภาพประจำปี ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีอันตราย ควรได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี หรือได้รับการตรวจสุขภาพจากแพทย์โดยทันที เมื่อมีอาการผิดปกติ เกิดขึ้นกับร่างกาย โดยเชื่อว่าอาจมีสาเหตุเกิดจากการได้รับสารเคมี 6.) การปรึกษาทางการแพทย์ และการตรวจ

  23. หลักทั่วไปของการควบคุมและป้องกันสิ่งคุกคามสุขภาพหลักทั่วไปของการควบคุมและป้องกันสิ่งคุกคามสุขภาพ • สำหรับแนวทางการจัดการนั้น ได้มีการเสนอวิธีกาควบคุม และป้องกันอันตรายจากสารเคมี ในลักษณะของกระบวนการ อันประกอบด้วย ขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ • - การตระหนัก และการประเมินถึงอันตรายจากสารเคมี • - การจัดลำดับความเป็นอันตรายของสารเคมี • - การเตรียมข้อมูล เพื่อการตัดสินใจสั่งการของผู้บริหาร • - การดำเนินมาตรการในการควบคุมและป้องกัน • - การประเมินผลการควบคุม และป้องกัน

  24. 7.) แผนฉุกเฉิน

  25. แผนกู้ภัยและการรับภาวะฉุกเฉินแผนกู้ภัยและการรับภาวะฉุกเฉิน ห้องปฏิบัติการเป็นสถานที่ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เนื่องจาก - มีตัวทำละลายและสารเคมีหลายชนิด - มีโอกาสที่สารเคมีที่เข้ากันไม่ได้จะผสมกัน - อาจก่อให้เกิดสารเคมีเป็นพิษได้ - อาจมีสารเคมีหกเลอะและรั่วไหลได้

  26. สามารถลดความเสี่ยงได้ ดังนี้ - จัดการดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อย - ลดปริมาณสารเคมีที่ใช้ - เก็บตัวทำละลายให้ถูกวิธี - ใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล - ใช้เครื่องมือควบคุมทางวิศวกรรม เช่น เครื่องมือการดูดซับสารพิษ

  27. การเตรียมการรับภาวะฉุกเฉินการเตรียมการรับภาวะฉุกเฉิน - กำหนดตัวผู้ประสานงานรับภาวะฉุกเฉิน - ปิดป้ายบอกหมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินที่เครื่องโทรศัพท์ทุกเครื่อง - รู้ที่เก็บอุปกรณ์กู้ภัยฉุกเฉินและอุปกรณ์แก้ไขการรั่วไหลของสารเคมี - รู้อันตรายที่อาจเกิดขึ้นและขั้นตอนการแก้ไขก่อนเริ่มปฏิบัติการ

  28. หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินหมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน รับแจ้งเหตุฉุกเฉินจากอุบัติภัยด้านสารเคมี รับแจ้งเรื่องร้องเรียนด้านมลพิษ ให้บริการข้อมูลการระงับอุบัติเบื้องต้นจากวัตถุอันตราย

  29. ให้บริการฐานข้อมูลเคมีภัณฑ์ให้บริการฐานข้อมูลเคมีภัณฑ์ • ศูนย์บริการประชาชน กรมควบคุมมลพิษ • หมายเลขอื่นๆ • - ศูนย์อุบัติภัย กทม. 1555 • - กรมควบคุมมลพิษ 1650 • - ศูนย์ปลอดภัยคมนาคม 0 2280 8000 • - หน่วยดับเพลิง 199 • - ตำรวจทางหลวง 1193

More Related