360 likes | 1.11k Views
การประกันคุณภาพในการจัดกิจกรรมนักศึกษา. วันเสาร์ที่ 3 กันยายน 2554 เวลา 10.15 – 11.15 น. ณ ห้องประชุม พิบูลมัง สาหาร สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. Miss Janejira Chaiyata
E N D
การประกันคุณภาพในการจัดกิจกรรมนักศึกษาการประกันคุณภาพในการจัดกิจกรรมนักศึกษา วันเสาร์ที่ 3 กันยายน 2554 เวลา 10.15 – 11.15 น. ณ ห้องประชุมพิบูลมังสาหาร สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี Miss JanejiraChaiyata Quality Assurance Unit and Innovative Media.(QAIM)Student Affairs Devision of UbonRatchathani University.Tel:045-353-091
ประเด็นนำเสนอ • นักศึกษากับการประกันคุณภาพ • วงจรเดมมิ่ง ( DemingCircle) หรือ PDCA • การนำ PDCA มาประยุกต์ใช้ • ตัวอย่างโครงการ • แนวทางการเขียนรายงานประเมินผลโครงการ
นักศึกษากับการประกันคุณภาพนักศึกษากับการประกันคุณภาพ • เพื่อให้นักศึกษาเป็นส่วนหนึ่ง และมีส่วนร่วมในการปรับปรุง และพัฒนาในเรื่องของการดำเนินงานด้านการเรียนการสอนทั้งในและนอกหลักสูตร ซึ่งนักศึกษาเป็นผู้รับผลประโยชน์นี้โดยตรง • 1.1 ให้ข้อมูลแก่มหาวิทยาลัยเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร ที่สะท้อนสภาพที่เกิดขึ้นจริง • 1.2 ให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพการสอนของคณาจารย์ • 1.3 ให้ข้อมูลที่นำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการสอนของคณาจารย์ • 1.4 เสนอแนะรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน • 1.5 แสดงความสนใจในสิ่งที่ตนเองต้องการเรียนรู้ให้ผู้สอนทราบ • 1.6 ให้ความร่วมมือในการเก็บข้อมูลของมหาวิทยาลัย • 1.7 พัฒนาตนเองให้อยู่ในข่ายที่จะได้รับการยกย่อง
นักศึกษากับการประกันคุณภาพ (ต่อ) • 1.8 ทำตนไม่ให้มหาวิทยาลัยเสื่อมเสีย • 1.9 หาโอกาสในการสร้างชื่อเสียงแก่สถาบันตามศักยภาพของตนเอง • 1.10 ช่วยให้ข้อมูลและเผยแพร่ข้อมูลของเพื่อนักศึกษาหรือศิษย์เก่าที่ได้รับการยกย่องให้มหาวิทยาลัยรับทราบ • 1.11 สื่อสารให้มหาวิทยาลัยทราบถึงความต้องการจำเป็นของตนเองที่ต้องการให้มหาวิทยาลัยจัดบริการให้ • 1.12 ให้ข้อมูลต่อมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับคุณภาพหรือความเหมาะสมของบริการที่มหาวิทยาลัยจัดให้ • 1.13 เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่มหาวิทยาลัยจัดขึ้นเพื่อพัฒนาตนเอง • 1.14 นำกระบวนการคุณภาพไปใช้ในการจัดกิจกรรมนักศึกษา
กระบวนการสร้างทักษะด้านประกันคุณภาพกระบวนการสร้างทักษะด้านประกันคุณภาพ : ใช้หลักการพื้นฐานวงจรPDCA (Deming’s Cycle) สามารถทำงานต่อยอด จากทักษะในอดีตและพัฒนาเป็นทักษะใหม่ที่ดีกว่าเดิม วงจรคุณภาพนี้จะต้องหมุนอยู่ตลอดเวลา เป็นวงจรที่ต่อเนื่องของกิจกรรมนั้นๆ เพื่อมุ่งสู่อนาคต...
เครื่องมือแห่งคุณภาพวงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) หรือ PDCA
วงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) หลักการที่เป็นหัวใจของ Q.C. Circleเพื่อที่จะนำไปสู่การดำเนินการแก้ปัญหา ปรับปรุง และพัฒนางานให้สำเร็จลุล่วงไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือ วงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) P D ความสำเร็จ C A
วงจรเดมมิ่ง ประกอบด้วยขั้นตอน 4 ประการ เรียกว่า PDCA P (Plan) คือ ขั้นตอนการวางแผน เพื่อเลือกปัญหา ตั้งเป้าหมาย การแก้ปัญหา และวางแผนแก้ปัญหา D (Do) คือ ขั้นตอนการดำเนินการแก้ไขปัญหาตามแนว ทางที่วางไว้ C (Check) คือ ขั้นตอนการตรวจสอบ และเปรียบเทียบผล A (Action)คือ การกำหนดเป็นมาตรฐานและปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น
วิธีการทำงานตามวงจรเดมมิ่งวิธีการทำงานตามวงจรเดมมิ่ง P D A P C D A C P = กำหนดแผน D = ทำตามแผนที่กำหนด C = ตรวจสอบผลกับแผน A = หากไม่บรรลุแผน ให้หา สาเหตุและวางแผนแก้ไขใหม่ A = หากบรรลุแผนให้รักษามาตรฐานไว้ P = วางแผนใหม่ ตั้งเป้าหมายใหม่ D = ทำตามแผนที่กำหนด C = ตรวจสอบผลกับแผน A = หากไม่บรรลุแผนให้วางแผนแก้ไขใหม่
การใช้ระบบประกันคุณภาพในส่วนของกิจกรรมนักศึกษา PDCA เพื่อให้นักศึกษาได้มีการดำเนินการโครงการ กิจกรรมที่นักศึกษาทำหน้าที่เป็นผู้รับผิดชอบ อย่างมีประสิทธิภาพ ฝึกการทำงานที่เป็นระบบ เข้าใจและเห็นความสำคัญเรื่องของการประกันคุณภาพมากขึ้น โดยใช้ระบบ PDCA
PLAN- นำเสนอแผนโครงงาน • ที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับ • หัวข้อโครงงานหรือกิจกรรม • ผู้รับผิดชอบ • วัตถุประสงค์ของการทำงาน • เป้าหมาย • การวางแผนการทำงาน ลักษณะการดำเนินงาน และระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
Do-การดำเนินงาน • มีการดำเนินงานตามแผนงานที่กำหนด • มีผู้คอยควบคุมดูแลการดำเนินการ ให้เป็นไปตามแผน และเป้าหมาย Check- การตรวจสอบและประเมินผล • มีการทำแบบสอบถามเพื่อประเมินผลโครงการ หรือกิจกรรม • นำผลการประเมินมาสรุป • วิเคราะห์ผล
Act - นำผลมาปรับปรุง • นำผลสรุปการประเมินการทำงาน และผลการทำงานมาวิเคราะห์หาข้อเสีย • นำข้อเสียมาปรับปรุง เพื่อการดำเนินการครั้งต่อไป • สิ่งที่ได้ผลดีแล้ว ให้พัฒนาเพื่อให้ได้ผลงานที่ดีขึ้น
แนวทางและตัวอย่างการจัดกิจกรรมนิสิตนักศึกษา เพื่อทักษะด้านประกันคุณภาพ • กิจกรรมวิชาการ • กิจกรรมกีฬาหรือการส่งเสริมสุขภาพ • กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์หรือรักษาสิ่งแวดล้อม • กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม • และจริยธรรม • กิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
ตัวอย่าง แนวทางการพัฒนาทักษะการประกันคุณภาพ โดยใช้วงจรPDCA PDCA ด้านการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา Plan • วางแผนในการเรียนของตนเอง • วางแผนจัดกิจกรรมของนักศึกษาและตั้งเป้าหมายของกิจกรรมนั้นๆ Do • ประเมินการเรียนของตนเอง • ดำเนินการจัดกิจกรรมนักศึกษา Check • นำผลการประเมินมาเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ตั้งไว้พิจารณาว่ามี • ประเด็นไหนยังทำได้ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย และให้ข้อเสนอแนะ • เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนหรือการจัดกิจกรรมในรอบปีการศึกษาถัดไป Act • นักศึกษาปรับปรุงการเรียนของตนเอง • นักศึกษาปรับปรุงการจัดกิจกรรมของนิสิตนักศึกษาในครั้งถัดไป • ตามผลการประเมิน
ตัวอย่าง แนวทางการพัฒนาทักษะการประกันคุณภาพ โดยใช้วงจรPDCA PDCA ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม Plan • วางแผนจัดโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมร่วมกับคณะ/สถาบัน หรือ • เป็นกิจกรรมเฉพาะของสโมสรนักศึกษา Do • ดำเนินการตามโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมต่างๆ ของคณะ/สถาบัน • หรือของสโมสรนักศึกษา Check • ประเมินผลและนำผลการประเมินการดำเนินโครงการทำนุบำรุง • ศิลปวัฒนธรรม มาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ตั้งไว้ Act • นิสิตนักศึกษาดำเนินการปรับปรุงการจัดทำโครงการทำนุบำรุง • ศิลปวัฒนธรรมของคณะ/สถาบัน และสโมสรนักศึกษา • ตามผลการประเมิน
ตัวอย่าง แนวทางการจัดกิจกรรมนักศึกษาฯ ด้านต่างๆ โดยใช้วงจรPDCA PDCA กิจกรรมด้านต่างๆ Plan • สำรวจความต้องการของสมาชิกในการทำกิจกรรมต่างๆ เช่นกิจกรรมสอนเสริม กิจกรรมเพิ่มพูนทักษะทางภาษา ทักษะทางวิชาชีพ อาสาพัฒนาชนบท ฟุตบอล ศาสนา ฯลฯ • วางแผนการจัดกิจกรรมตามความต้องการของสมาชิก • วางทีมดำเนินการ • วางกลุ่มเป้าหมาย Do • ดำเนินกิจกรรมวิชาการต่างๆ ตามแผนที่วางไว้ Check • ประเมินผลการดำเนินการและนำผลมาเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ตั้งไว้ Act • ปรับปรุงโครงการกิจกรรมวิชาการต่างๆ • ปรับปรุงวิธีการจัดกิจกรรมในครั้งถัดไปตามผลการประเมิน
เทคนิคที่ใช้ในการทำกิจกรรมP-D-C-Aเทคนิคที่ใช้ในการทำกิจกรรมP-D-C-A 1.การพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2.เทคนิคการระดมสมอง 3.เทคนิคการทำงานเป็นทีม 4.เทคนิคการเป็นผู้นำทีม 5.เทคนิคการประชุม 6.เทคนิคในการนำเสนอผลงาน
การทำงานเป็นทีม ความหมายของทีมงาน กลุ่มคนที่มารวมตัวกันเพื่อทำกิจกรรมหรือร่วมปฏิบัติ ภารกิจอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยมีการกำหนดวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายร่วมกัน มีการสื่อความ ประสานงาน พร้อม แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างทั่วถึง เพื่อให้เกิดความสำเร็จ ตามที่กำหนดไว้
การทำงานเป็นทีม (Team Working) Trust = ความไว้วางใจ Endurance = ความอดทน Accountability = ความมีเหตุมีผล Management = การบริหารจัดการ Willingness = ความเต็มใจ Orientation = การมีเป้าหมายที่ชัดเจน Respect = การยอมรับนับถือ Knowledge = ความรู้ Intelligence = มีศักยภาพในการพัฒนาขีดความสามารถ Nuturance = ความเมตตากรุณา Generousity = ความอ่อนน้อมถ่อมตน