220 likes | 395 Views
เพศศึกษากับ บริการสุขภาพ ที่เป็นมิตรสำหรับเยาวชน. โครงการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ เพศศึกษารอบด้าน สำหรับเยาวชนในสถานศึกษา ตุลาคม ๒๕๕๑ – กันยายน ๒๕๕๔ (๓ ปีแรก ของโครงการ ๖ ปี). โครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ ระยะที่สอง. โครงการ ACHIEVED
E N D
เพศศึกษากับบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับเยาวชนเพศศึกษากับบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับเยาวชน
โครงการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เพศศึกษารอบด้านโครงการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เพศศึกษารอบด้าน สำหรับเยาวชนในสถานศึกษา ตุลาคม ๒๕๕๑ – กันยายน ๒๕๕๔ (๓ ปีแรก ของโครงการ ๖ ปี) โครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ ระยะที่สอง
โครงการACHIEVED Aligning Care and Prevention of HIV/AIDS withGovernment Decentralization to Achieve Coverage and Impact โครงการปรับภารกิจการจัดการปัญหาเอดส์สู่กระบวนการกระจายอำนาจในจังหวัดให้ครอบคลุมถ้วนทั่วกลุ่มเป้าหมายและส่งผลอย่างยั่งยืน ๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗ ระยะที่ ๑ – ๓ ปี (ตุลา ๕๑ – กันยา ๕๔) ระยะที่ ๒ – ๓ ปี (ตุลา ๕๔ – กันยา ๕๗)
วัตถุประสงค์โครงการ ACHIEVED • เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทัศนคติ และทักษะของเยาวชนในการมีพฤติกรรมทางเพศที่มีสุขภาวะ และอยู่ร่วมกับผู้ติดเชื้อเอชไอวีได้อย่างปกติ • เพื่อให้เยาวชน และผู้ติดเชื้อเอชไอวีเข้าถึงถุงยางอนามัยได้เพิ่มมากขึ้น • เพื่อพัฒนาบริการสุขภาพทางเพศ บริการป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์ ที่เชื่อมโยงต่อเนื่องและจัดการได้อย่างเป็นระบบในระดับพื้นที่และท้องถิ่นและเพื่อจัดวางจุดติดตามการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์ และเฝ้าระวังปัญหาการดื้อยาต้านไวรัสเอดส์ในระดับชาติ • เพื่อจัดตั้งและเสริมสมรรถนะของกลไกประสานงานและระดมทรัพยากรในระดับจังหวัดสำหรับเป็นเครื่องถักทอภารกิจการป้องกันและดูแลรักษาเอดส์ให้สอดคล้องรองรับกับกระบวนการกระจายอำนาจของประเทศ • เพื่อจัดบริการดูแลรักษา และให้ยาต้านไวรัสเอดส์แก่กลุ่มเป้าหมายที่เข้าไม่ถึงบริการตามสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เนื่องจากไม่มีสัญชาติไทย
เป้าหมายโครงการ ACHIEVED เพื่อลดการติดเชื้อ HIV ในเยาวชน โดยบูรณาการ กลยุทธ์ในการดูแลรักษาและป้องกันโรคเอดส์ เข้าสู่แผนงานโครงการของจังหวัด และภาคส่วนในส่วนกลาง ให้ครอบคลุมประชากรกลุ่มเป้าหมายทั้ง ๔ จุดบริการ ได้แก่ ชุมชน โรงเรียน สถานประกอบการ และบริการสุขภาพ
เพศศึกษารอบด้านสำหรับเยาวชนในสถานศึกษาเพศศึกษารอบด้านสำหรับเยาวชนในสถานศึกษา PCMศูนย์ประสานประชาคมเอดส์จังหวัด( ศปอจ.) Youth and PHA Friendly Health Serviceบริการเพื่อสุขภาวะที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและผู้ติดเชื้อ
ทิศทางการดำเนินงาน ๓ ปีแรก (ต.ค. ๕๑-ก.ย. ๕๔) • การพัฒนาคุณภาพ • การขยายผลเพศศึกษาสู่สถานศึกษา ในสพท. • การขับเคลื่อนโดยระบบของ สพฐ. • การติดตามประเมินผล • การจัดบริการที่เป็นมิตรสำหรับเยาวชน
ผลสัมฤทธิ์ใน ๖ ปี ข้างหน้า (คิดต่อปี) กิจกรรมปรับพฤติกรรมป้องกันเอดส์เข้าถึง ๓๐% ของเยาวชนอายุ ๑๒-๒๔ ปีในพื้นที่รับผิดชอบได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิผลจำนวน ๒.๔ ล้านคน(๔๓ จังหวัด มีเยาวชน ๘ ล้านคน) ๖.๕ % ของเยาวชน เข้าถึงบริการสุขภาพเจริญพันธ์ที่เป็นมิตร (๑๖๐,๐๐๐ คน) ๕๐% ของเยาวชน เข้าถึงบริการที่เป็นมิตรได้รับบริการให้คำปรึกษาและตรวจ HIV (๘๐,๐๐๐ คน) ๑๐% ของเยาวชนที่เข้าถึงบริการในพื้นที่ของโครงการและมีปัญหาสุขอนามัยเจริญพันธุ์ (ติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์)ได้รับบริการตรวจรักษา (๑๖,๐๐๐ คน) ๐.๕% ของเยาวชนที่ติดเชื้อเอชไอวีในโครงการได้รับการดูแลและรักษา(๔๐๐ คน)
งานบริการสุขภาพที่เป็นมิตร ( YPFS)ใน ๔๓ จังหวัด
ตัวอย่างงาน YPFS ในจังหวัดต่าง ๆ
ตัวอย่างงาน YPFS ในจังหวัดต่าง ๆ
ตัวอย่างงาน YPFS ในจังหวัดต่าง ๆ
ประเด็นสอบถามความเห็นประเด็นสอบถามความเห็น ๑.เยาวชนควรมีสิทธิตรวจเลือดเอชไอวีโดยไม่ต้องขอความยินยอมจากพ่อ แม่ผู้ปกครอง ๒.เยาวชนในสถานศึกษาที่ท้องไม่พร้อมควรได้รับการปรึกษาและมีโอกาส เลือกตัดสินใจหาทางออกได้ด้วยตนเอง ๓.บริการที่ให้ความสำคัญกับการรักษาความลับจะเอื้อให้เยาวชนเชื่อมั่นใน การเข้ารับบริการ ๔.บริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับเยาวชนควรครอบคลุมเรื่อง การตรวจหาการติด เชื้อเอชไอวี /โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ / และคุมกำเนิด ๕.การพัฒนาบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับเยาวชน จำเป็นต้องการการมีส่วนร่วม ของภาคสาธารณสุข หน่วยงานเอกชน องค์กรชุมชน และภาคการศึกษา
ประเด็นการตรวจเลือดอายุต่ำกว่า ๑๘ ปี/ประเด็นอื่น • บริการที่เป็นมิตรเริ่มด้วยมีคนที่เป็นมิตร พร้อมให้การพูดคุยปรึกษา • การตรวจเลือดหาการติดเชื้อ การปรึกษาก่อนและหลังตรวจเป็นเรื่องสำคัญจำเป็น • ความไม่พร้อมของผู้ให้บริการ เป็นปัจจัยหนึ่งที่เป็นเงื่อนไขในการให้บริการ เช่นกลัวการถูกฟ้อง • อาจมีสาเหตุจากกลัวครูจะนำเด็กมาตรวจ เพื่ออยากรู้ผลเลือดเด็ก • ผู้ใหญ่ก็ต้องการบริการที่เป็นมิตรด้วยเช่นกัน ไม่ใช่แค่เยาวชน • ไม่ควรแยกเรื่องตรวจเลือดออกมาจากตัวบริการ แต่ควรไปด้วยกันกับบริการสุขภาพทางเพศอื่นๆ • ควรครอบคลุมเด็กที่ไม่มีเลข ๑๓ หลัก
ความเห็นเพิ่มเติม • บริการสุขภาพทางเพศ ถ้าตั้งในจุดบริการที่ให้บริการอื่นด้วย ไม่เป็นการตีตรา • บริการเครือข่ายท้องไม่พร้อม กับการเป็นแหล่งส่งต่อ การสร้างเครือข่ายในภูมิภาคเป็นเรื่องสำคัญ • โลโก้ เลิฟแคร์ บางทีตีตราได้ แต่ควรทำให้บริการที่เป็นมิตร บูรณาการอยู่ในงานบริการสาธารณสุขโดยทั่วไป • บริการควรครอบคลุมเด็กนอกสถานศึกษา และ เรื่องท้องไม่พร้อม • ครูแนะแนว / ชุมชน ช่วยบอกบริการ
บริการสุขภาพที่เป็นมิตรใน ๑๐ จังหวัด กทม./สมุทรปราการ/นครสวรรค์ /ฉะเชิงเทรา /เพชรบุรี /ราชบุรี / สมุทรสาคร /สมุทรสงคราม / อุบลฯ/ศรีสะเกษ
ท่านจะสนับสนุนให้เยาวชนเข้าถึงบริการYPFSได้อย่างไรบ้างท่านจะสนับสนุนให้เยาวชนเข้าถึงบริการYPFSได้อย่างไรบ้าง
ท่านจะสนับสนุนให้เยาวชนเข้าถึงบริการYPFSได้อย่างไรบ้างท่านจะสนับสนุนให้เยาวชนเข้าถึงบริการYPFSได้อย่างไรบ้าง
สถานประกอบการ ชุมชน รร. เยาวชน สื่อสาธารณะ ๖.๕% เข้าสู่บริการ เครือข่ายผู้ให้บริการและการพัฒนาคุณภาพบริการ ผู้ติดเชื้อ ๓๐% ได้รับข้อมูล การบอก/ปชส. บริการ • บริการ YPFS • ข้อมูล/การประเมินความเสี่ยง • ตรวจหาการติดเชื้อ HIV • การตรวจรักษา STIs • คุมกำเนิด • การตรวจทางคลินิก เช่น pap smear • บริการส่งต่อ (psycho-social) Follow-up services(โดยเฉพาะกลุ่ม HIV-)