300 likes | 435 Views
การจัดการ เครือข่ายความร่วมมือ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ศ. ดร. ชาติชาย ณ เชียงใหม่ ผู้อำนวยการ สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. ประเด็นการ สนทนา. 1. บริบท และความจำเป็น ของการจัดการ เครือข่า ย ความร่วมมือ 2. ปรัชญา หลักการของความร่วมมือ ในการจัดการ
E N D
การจัดการเครือข่ายความร่วมมือการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีศ. ดร. ชาติชาย ณ เชียงใหม่ผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ประเด็นการสนทนา 1. บริบทและความจำเป็นของการจัดการ เครือข่ายความร่วมมือ 2. ปรัชญา หลักการของความร่วมมือ ในการจัดการ 3. อุปสรรคของการจัดการความร่วมมือ 4. แนวการจัดการเครือข่ายความร่วมมือ
ความจำเป็นต้องมีเครือข่ายความร่วมมือในการส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีความจำเป็นต้องมีเครือข่ายความร่วมมือในการส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 1. มีข้อจำกัดในการเข้าถึงความรู้ ข้อมูลข่าวสาร 2. ความจำเป็นต้องร่วมกันทำความเข้าใจปัญหา และ กำหนด ทางเลือกใหม่ๆของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 3. ความปรารถนาที่จะผลักดันการเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ
หลักการของการทำงานแบบเครือข่ายความร่วมมือหลักการของการทำงานแบบเครือข่ายความร่วมมือ 1. ทุกฝ่ายมีเกียรติ ศักดิ์ศรี สิทธิ โอกาสที่เท่าเทียมกัน 2. เป็นการทำงานแนวราบ ไม่มีการสั่งการจากฝ่ายใ 3. เป็นกระบวนการเรียนรู้โดยผ่านการทำงานร่วมกัน
ประโยชน์ของเครือข่ายความร่วมมือประโยชน์ของเครือข่ายความร่วมมือ 1. ตัดสินใจได้เร็ว แก้ปัญหาได้เร็วท่ามกลางความไม่แน่นอนและความสลับซับซ้อนของปัญหา 2. ลดค่าใช้จ่ายการบริหารราชการและผู้ใช้บริการ 3. ให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมายได้ตรงความต้องการ 4. เป็นการสร้างทุนทางสังคมให้แก่หน่วยงานและประเทศ
E = MC2 M = Mastery of each individual (Human Capital) C = Connections that join individuals or units into a community (Social Capital) C = Communication that flows through those connections E = Effectiveness of teams and/or organizations แนวคิดการจัดการแบบเครือข่าย
ปรัชญาของความร่วมมือ • ส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานงานมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดและข้อมูลข่าวสารให้มากที่สุด • ลดเงื่อนไขและปัจจัยปิดกั้นการมีส่วนร่วมคิดของทุกคน • ให้ข้อมูลข่าวสารแก่ผู้ปฏิบัติงานให้มากที่สุด
ปรัชญาของความร่วมมือ • ส่งเสริมจูงใจให้ผู้ปฏิบัติงาน คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ • กระตุ้นให้ผู้ปฏิบัติงานรู้สึกเป็น เจ้าของผลลัพธ์ของงานที่ดี ไม่ใช่เป็นเจ้าของความคิด
หลักพื้นฐาน 4 ประการของกระบวนการร่วมมือกันอย่างสร้างสรรค์ • ทุกคนที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม • ทำให้ “เห็น” ข้อมูลข่าวสาร • ข้อมูลข่าวสารที่เคลื่อนย้ายได้ • เพลินและสนุกกับการคิดและทำร่วมกัน
หลักการ 3 ประการในการจัดการกระบวนการร่วมมือกันอย่างสร้างสรรค์ • เพิ่มประสิทธิผลของทุกคนที่มีส่วนร่วม • เพิ่มประสิทธิผลของทีม • ทำให้ข้อมูลข่าวสารเคลื่อนที่ได้เสรี
ปัจจัย 5 ประการในการจัดการกระบวนการร่วมมือกันอย่างสร้างสรรค์ • มีจุดมุ่งหมายร่วมกัน • สมาชิกเครือข่ายมีอิสระ • เชื่อมโยงกันตามความสมัครใจ • มีผู้นำหลายคน • มีความสัมพันธ์ติดต่อกันทุกระดับ
แนวทางการจัดการแบบเครือข่ายแนวทางการจัดการแบบเครือข่าย 1. การแสวงหาจุดมุ่งหมายร่วมกัน (Purpose) 2. การกำหนดความเชื่อพื้นฐานร่วมกัน (Principle) 3. การกำหนดความสามารถที่ต้องมีร่วมกัน (Capability) 4. การกำหนดบทบาทของแต่ละฝ่ายและความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน ความรับผิดชอบต่อกัน (Concept)
แนวทางการจัดการแบบเครือข่ายแนวทางการจัดการแบบเครือข่าย 5. การกำหนดกฏ ระเบียบที่ยึดโยงความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน (Structure) 6. การกำหนดโครงการ กิจกรรมที่ควรทำร่วมกัน (Practice)
กระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนันสนุนการทำงานแบบเครือข่ายกระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนันสนุนการทำงานแบบเครือข่าย เดิม การจัดองค์กรเป็นปัจจัยที่ไม่มีความ สำคัญต่อความสามารถในการแข่งขัน ใหม่ การจัดองค์กรเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญที่สุด ต่อความสามารถในการแข่งขัน
กระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่ายกระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่าย เดิม สายการบังคับบัญชาเป็น เครื่องมือที่ดีที่สุดในการควบคุม ใหม่ ความเกี่ยวพันมีส่วนร่วมแนวขวางเป็น กลไกการควบคุมที่ดีที่สุด
กระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่ายกระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่าย เดิม ผู้บริหารระดับสูงและผู้เชี่ยวชาญ เป็นส่วนเพิ่มคุณค่าที่สำคัญที่สุด ใหม่ ผู้ปฏิบัติงานทั้งหมดเป็นส่วนเพิ่ม คุณค่ามากที่สุดแก่หน่วยงาน
กระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานเครือข่ายกระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานเครือข่าย เดิม การบังคับบัญชาแนวดิ่งเป็น หัวใจของประสิทธิผล ใหม่ กระบวนการทำงานแนวราบเป็น หัวใจของประสิทธิผล
กระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่ายกระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่าย เดิม ควรจัดองค์กรตามหน้าที่ ใหม่ ควรจัดองค์กรตามผลผลิต ลูกค้า ผู้รับบริการ
กระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่ายกระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่าย เดิม ผู้จัดการที่เก่งเป็นหัวใจของ ประสิทธิผล ใหม่ ภาวะผู้นำที่ดีเป็นหัวใจของ ประสิทธิผล
กระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่ายกระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่าย เดิม โครงสร้าง เทคโนโลยี กำหนด กระบวนการและการปฏิบัติ ใหม่ จุดมุ่งหมาย หลักการความเชื่อกำกับพฤติกรรม สำนึก ความสามารถของพนักงาน การจัดความสัมพันธ์ การปฏิบัติ
ความร่วมมือที่ดีกับหน่วยงานอื่นความร่วมมือที่ดีกับหน่วยงานอื่น ลักษณะของหน่วยงานที่มี • แม้ว่าขนาดใหญ่แต่ก็ทำอะไรรวดเร็ว • มีการพูดคุยถกแถลงที่เปิดเผย ซื่อตรง เพื่อขจัดความคิดเห็นที่ไม่เข้าท่า • มีการคิดร่วมกันและยอมรับนับถือการทำดี ของบุคคลแก่หน่วยงาน
8 ขั้นตอนของกระบวนการ จัดการเครือข่ายความร่วมมือ • 1. ทำให้รู้สึกถึงความเร่งด่วนที่ต้องมีเครือข่าย • ประเมินสถานการณ์ด้านต่างๆที่มีผลกระทบต่อความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของเครือข่ายความร่วมมือ • ชี้ให้เห็นวิกฤตและโอกาสทางเลือกของความสำเร็จ • 2. ก่อรูปกลุ่มแกนนำเครือข่ายความร่วมมือ • รวมตัวกันของคนและกลุ่มที่มีพลังพอที่จะขับเคลื่อนความร่วมมือ • ทำกิจกรรมร่วมกันของแกนนำในลักษณะทีม
3. สร้างจินตภาพ / วิสัยทัศน์และกลยุทธ์ • หล่อหลอมวิสัยทัศน์เครือข่ายความร่วมมือ • กำหนดกลยุทธ์ไปสู่ความสำเร็จของวิสัยทัศน์ • 4. แผ่ขยายการรับรู้และยอมรับในวิสัยทัศน์ใหม่ • ใช้ทุกช่องทางในการสื่อวิสัยทัศน์ใหม่และกลยุทธ์ • กลุ่มแกนนำทำเป็นตัวอย่าง
5. ขับเคลื่อนการกระทำระหว่างหน่วยงาน5. ขับเคลื่อนการกระทำระหว่างหน่วยงาน • ลดอุปสรรค • เปลี่ยนระบบและโครงสร้างที่บั่นทอนการเปลี่ยนแปลง • ส่งเสริม “ความคิดใหม่ การกระทำใหม่ที่ดี” • 6. ชื่นชมความสำเร็จทีละเล็กละน้อย • กำหนดและชื่นชมการปรับปรุงผลงานที่เริ่มเกิดขึ้น • ชื่นชมสรรเสริญคนที่ปรับปรุงตนเอง • สร้างกระแสความเชื่อในความสำเร็จแม้จะเป็นเรื่องเล็ก
7. ผนึกกำลังผลความสำเร็จก่อตัวเป็นคลื่นของการเปลี่ยนแปลง • เมื่อความคิดเริ่มเคลื่อนเปลี่ยน รีบปรับระบบโครงสร้างและนโยบายให้คล้อยตาม • ตอกย้ำความเชื่อมั่นด้วยโครงการใหม่ และแกนนำการเปลี่ยนแปลงหน้าใหม่ • 8. ปลูกฝังแนวทางการทำงานแบบเครือข่ายให้เป็นวัฒนธรรม • ผลงานที่ดีมาจากความร่วมมือและการยึดจุดมุ่งหมายร่วมกัน ผนวกกับการมีภาวะผู้นำที่ดีและการจัดการที่ดี • เชื่อมโยงให้เห็นว่าพฤติกรรมความร่วมมือระหวางหน่วยงานนำไปสู่ความสำเร็จของวัตถุประสงค์ร่วมกัน • คิดค้นกลไกและมรรคที่พัฒนาภาวะผู้นำและการสร้างผู้นำเครือข่ายความร่วมมือรุ่นใหม่
อุปสรรคของการจัดการความร่วมมืออุปสรรคของการจัดการความร่วมมือ ผู้คนรู้สึกว่าเป็นเรื่องยาก ไม่มีแรงพลังพอที่จะทำให้เครือข่ายความร่วมมือเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ไม่ได้กำหนดการทำงานและความสำเร็จทีละขั้น ขาดความวิริยะในการผลักดันให้มีความร่วมมืออย่างต่อเนื่อง ไม่ได้ปลูกฝัง “ความร่วมมือกัน”ให้เป็นวัฒนธรรมของหน่วยงาน
อุปสรรคของการจัดการความร่วมมืออุปสรรคของการจัดการความร่วมมือ ผู้คนนิ่งนอนใจ เห็นว่าเครือข่ายความร่วมมือเป็นเรื่องที่ไม่จำเป็นเร่งด่วน ขาดแรงผลักดันที่มากพอจากกลุ่มผู้บริหาร ระดับสูง ขาดวิสัยทัศน์ที่มีพลังชี้นำการเปลี่ยนแปลง ไม่สามารถสื่อสารวิสัยทัศน์ให้รู้และยอมรับร่วมกันระหว่างหน่วยงาน
แนวทางเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานแนวทางเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน • บริหารงานแบบมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน • ผู้บริหารมีหน้าที่ในการเป็นผู้อำนวยความสะดวก • สร้างวิสัยทัศน์ของกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน • ผู้ปฏิบัติงานมีส่วนร่วมแข็งขันในกระบวนการทำงาน • ทุกคนเป็นกำลังสำคัญของกลุ่ม • ผู้ปฏิบัติงานเห็นและเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างงาน
มีการรับฟังและติชมผลงานมีการรับฟังและติชมผลงาน • งานที่ทำสร้างความรู้สึกพึงพอใจและความสำเร็จแกผู้ปฏิบัติ • มีการทบทวนสะท้อนความคิดถึงสิ่งที่ได้ทำไปแล้ว • มีการเรียนรู้ผลการทำงานเพื่อปรับปรุงทักษะและผลงานอย่างต่อเนื่อง • สมาชิกกลุ่มทุกคนสามารถพัฒนาทักษะและความเชี่ยวชาญของตนอย่างต่อเนื่อง