360 likes | 1.15k Views
หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย. โรงพยาบาลนครปฐม. นวัตกรรม. ปลอดภัย ลดความเสี่ยง เพิ่มความสะดวกสบาย. ด้วยอุปกรณ์ช่วยหัก Amp ยา. Safety Modern Cutter. อุปกรณ์ช่วยสวมปลอกเข็ม. Healthy Needle Box.
E N D
หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย โรงพยาบาลนครปฐม
นวัตกรรม ปลอดภัย ลดความเสี่ยง เพิ่มความสะดวกสบาย ด้วยอุปกรณ์ช่วยหัก Amp ยา Safety Modern Cutter อุปกรณ์ช่วยสวมปลอกเข็ม Healthy Needle Box
* หนึ่งในประเด็นคุณภาพปี 53 เน้นเรื่องความปลอดภัยการสร้างความมั่นใจส่งผลให้เกิดความเชื่อมั่นเกิดความไว้วางใจในบริการที่ได้รับ * อุบัติการณ์การถูกเข็มทิ่มตำปี 52 = 24 ครั้ง / ปี * อุบัติการณ์การถูก Amp ยาบาดปี 52 = 20 ครั้ง / ปี
ประเด็นคุณภาพปี53 เน้นความปลอดภัย เจ้าหน้าที่พยาบาล AID คนงาน ผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย นวัตกรรม เกิดผลกระทบ/ความสูญเสีย ด้านร่างกาย/จิตใจ/สังคม/เศรษฐกิจ เจาะเลือดเตรียม/ฉีดยาให้ IV/เลือด กิจกรรมที่มีการใช้เข็ม ภาระงานมาก/เร่งรีบ ขาดความตระหนัก ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐาน จบใหม่ สาเหตุการเกิดอุบัติการณ์เข็มทิ่มตำ/ของมีคมบาด
หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย ได้ตระหนักถึงความสำคัญของโอกาสเสี่ยงที่อาจจะเกิดอุบัติการณ์เข็มทิ่มตำ / ของมีคมบาด ของบุคลากร ผู้ป่วยและญาติจึงได้คิดอุปกรณ์ช่วยหัก Ampยา , อุปกรณ์ช่วยสวมปลอกเข็มขึ้น เพื่อเป็นการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ตอบสนองนโยบาย Safe for allของโรงพยาบาล
เป็นการค้นหาความเสี่ยง ตอบสนองนโยบายปี2553ของโรงพยาบาล เน้นความปลอดภัย • เพื่อลดความเสี่ยงป้องกันการเกิดอุบัติการณ์การบาดเจ็บจากเข็มทิ่มตำ,ของมีคมบาดในเจ้าหน้าที่ ผู้ป่วยและญาติ • เพื่อเพิ่มความปลอดภัย สร้างความมั่นใจไว้วางใจในบริการที่ผู้ป่วยและญาติได้รับจากพยาบาล • เพื่อนำวัสดุเหลือใช้มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ • เพื่อให้ผู้ร่วมประชุมมีการตื่นตัวในการป้องกันความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น พัฒนาศักยภาพการปฏิบัติการพยาบาล มุ่งหวังก่อเกิดพฤติกรรมการดูแลด้วยใจและความรัก
วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต
อุปกรณ์ช่วยหัก Ampยา (Safety Modern Cutter) • เศษไม้ • ใบเลื่อย • สว่าน • แล็กเกอร์
อุปกรณ์ช่วยสวมปลอกเข็ม (Healthy Needle Box) • หลอดใส่ยา • สติกเกอร์ • ดินน้ำมัน • ยางยืด • หนามเตย • Cable tile
BEFORE AFTER
BEFORE AFTER
1. ทำแบบสอบถามความคิดเห็นและประเมินประสิทธิภาพของการใช้อุปกรณ์ช่วยหัก Amp ยา , อุปกรณ์ช่วยสวมปลอกเข็ม
แบบสอบถามความคิดเห็นและประเมินประสิทธิภาพของการใช้ณ์อุปกรณ์ช่วยหัก Amยา , อุปกรณ์ช่วยสวมปลอกเข็ม - ให้ท่านใส่เครื่องหมาย / ในช่องที่ท่านคิดว่าตรงกับความคิดเห็นของท่านมากที่สุด ดีมาก = 5 คะแนน, ดี = 4 คะแนน, ปานกลาง = 3 คะแนน, ไม่ดี = 2 คะแนน, ต้องปรับปรุง = 1 คะแนน
2.ทำกล่องใส่อุบัติการณ์ เพื่อนำไปวิเคราะห์เปรียบเทียบอุบัติการณ์ การถูกเข็มตำ, ของมีคมบาด,การพบเข็ม/ปลอกเข็มที่พื้น ก่อนและระหว่างการทดลองใช้อุปกรณ์ช่วยป้องกัน รวมทั้งอัตราการติดเชื้อจากการทำงานที่ถูกเข็มตำ,ของมีคมบาด
1.จากการตอบแบบสอบถามแบบสอบถามความคิดเห็นและประเมินประสิทธิภาพของการใช้อุปกรณ์ช่วยหัก Amp ยา ,อุปกรณ์ช่วยสวมปลอกเข็มดังแสดงในตารางดังนี้
2.ผลการพบเข็ม/ปลอกเข็มที่พื้นของเจ้าหน้าที่ก่อนและระหว่างการทดลองลดลงจาก20ครั้ง (เข็ม3) เป็น12 (เข็ม2) , 8 (เข็ม1) , 5 (เข็ม1) ครั้งตามลำดับ 3.ผลการเปรียบเทียบอุบัติการณ์การบาดเจ็บของเจ้าหน้าที่จากเข็มทิ่มตำก่อนและระหว่างการทดลองใช้อุปกรณ์ช่วยสวมปลอกเข็มลดลงจาก 2 เป็น 2 , 1 ,0 ครั้งตามลำดับ 4.ผลการเปรียบเทียบอุบัติการณ์การบาดเจ็บของเจ้าหน้าที่จากของมีคมบาดก่อนและระหว่างการทดลองใช้อุปกรณ์ช่วยหักAmpยา ลดลงจาก 3 เป็น 1 , 0, 0 ครั้ง ตามลำดับ 5.อัตราการติดเชื้อของเจ้าหน้าที่จาการปฏิบัติงานเนื่องจากถูกเข็มทิ่มตำ/ของมีคมบาดก่อนและระหว่างการทดลองใช้อุปกรณ์ช่วยป้องกันเท่ากับ 0
กราฟแสดงการเปรียบเทียบการเกิดอุบัติการณ์เข็มทิ่มตำ/ของมีคมบาดก่อนและหลังการทดลองใช้อุปกรณ์ช่วยป้องกันในแต่ละเดือนกราฟแสดงการเปรียบเทียบการเกิดอุบัติการณ์เข็มทิ่มตำ/ของมีคมบาดก่อนและหลังการทดลองใช้อุปกรณ์ช่วยป้องกันในแต่ละเดือน
เจ้าหน้าที่มีความพึงพอใจต่อนวัตกรรมใช้งานสะดวก ประดิษฐ์ง่ายสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ต้นทุนถูกคุ้มค่ากับการลงทุน • ลดความเสี่ยง,ป้องกันและลดอุบัติการณ์การบาดเจ็บจากการถูกเข็มทิ่มตำ / ของมีคมบาด • ส่งเสริมให้ผู้รับบริการได้รับความปลอดภัย มั่นใจต่อการบริการที่มีคุณภาพที่ดีจากโรงพยาบาล • ก่อเกิดพฤติกรรมเอื้ออาทรต่อกันและกัน ทั้งกับเพื่อนร่วมงาน ผู้ป่วยและญาติ เป็นพฤติกรรมการดูแลด้วยใจและความรัก