1 / 12

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization ). วิสัยทัศน์หลักสูตร. มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม

kylan-chan
Download Presentation

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization)

  2. วิสัยทัศน์หลักสูตร • มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม • มีจิตสำนึกความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก • ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข • มีความรู้และทักษะพื้นฐาน • มีเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพ และ การศึกษาตลอดชีวิต

  3. หลักการสำคัญ • ความเป็นเอกภาพของชาติ • ปวงชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและมีคุณภาพ • กระจายอำนาจให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา • โครงสร้างหลักสูตรยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลา และ การจัดการเรียนรู้ • เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ • เทียบโอนผลการศึกษาได้ทั้ง ๓ ระบบ

  4. จุดหมายสำคัญ ๕ ประการที่มุ่งสู่ผู้เรียน • คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์มีวินัย ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนาที่ตนนับถือยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • มีความรู้อันเป็นสากล ความสามารถในการสื่อสาร การคิดการแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต • มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี มีสุขนิสัยและรักการออกกำลังกาย

  5. จุดหมายสำคัญ ๕ ประการที่มุ่งสู่ผู้เรียน (ต่อ) ๔. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทย และพลโลก ยึดมั่นในวิถีและการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข • มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมมิจิตสาธารณะ และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างเป็นสุข

  6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน • ความสามารถในการสื่อสาร • ความสามารถในการคิด • ความสามารถในการแก้ปัญหา • ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต • ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

  7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน • รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ • ซื่อสัตย์สุจริต • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ

  8. บทบาทของครูผู้สอน • วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล มาวางแผนการจัดการเรียนรู้ • กำหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนอย่างรอบด้าน • ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน • จัดบรรยากาศ และดูแลช่วยเหลือผู้เรียน • จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นำภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน • ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสม และดูพัฒนาการของผู้เรียน • วิเคราะห์ผลประเมินมาใช้ปรับปรุงการสอน

  9. บทบาทของผู้เรียน • กำหนดเป้าหมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง • แสวงหาความรู้ แหล่งเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อความรู้ ตั้งคำถาม คิดหาคำตอบหรือแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่างๆ • ลงมือปฏิบัติจริง สรุปสิ่งที่เรียนรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้ • มีปฏิสัมพันธ์ ทำงาน ทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มและครู • ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง

  10. การประเมินตนเองของสถานศึกษาการประเมินตนเองของสถานศึกษา จุดหมายและพันธกิจของสถานศึกษา แผนพัฒนาสถานศึกษา ทีมการประเมินจากภายนอก การวางแผน : วัตถุประสงค์ระยะยาว และเป้าหมายรายปี ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ (KPI) ปรับวัตถุประสงค์ระยะยาวและเป้าหมายสำหรับปีต่อไป การปรับปรุง พัฒนาตนเอง และความรับผิดชอบ ของสถานศึกษา การนำแผนสู่การปฏิบัติและระบบกำกับดูแล การประเมินตนเอง รายงานประจำปี

  11. การพัฒนาคุณภาพ (QC) กระบวนการพัฒนาสู่คุณภาพ การประกันคุณภาพ (QA) กระบวนการ ปรับปรุง คุณภาพ กระบวนการ ตรวจสอบ คุณภาพ การตรวจติดตามคุณภาพ (QAu) • การประเมินคุณภาพ • ภายใน (IQA) • ภายนอก (EQA)

  12. Q & A

More Related