1 / 23

การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัยจะไปทางไหน ?

การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัยจะไปทางไหน ?. โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ สวนผึ้งรีสอร์ท กาญจนบุรี 5 พฤศจิกายน 2556. นโยบายเร่งด่วน. 1. ปรับปรุงระบบบริการ 2. มีตัวชี้วัดในการวัดผลงาน 3. เพิ่มประสิทธิภาพของบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

kurt
Download Presentation

การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัยจะไปทางไหน ?

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุขกรมอนามัยจะไปทางไหน ? โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ สวนผึ้งรีสอร์ท กาญจนบุรี 5 พฤศจิกายน 2556

  2. นโยบายเร่งด่วน 1. ปรับปรุงระบบบริการ 2. มีตัวชี้วัดในการวัดผลงาน 3. เพิ่มประสิทธิภาพของบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 4. การแพทย์ฉุกเฉิน และระบบส่งต่อ 5. การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ 6. ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน 7. การสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค 8. การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางบริการสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub)

  3. Reform direction • Restructuring health sector Separation regulatory role and service provision role in the MoPH Strengthening MoPH functions as National Health Authority • Policy, direction, and guidelines on financing • Policy on human resources • Regulation and supervision • Monitoring and evaluation • Implementing cost accounting system in hospitals Reorganize relationships between MoPH and various main actors

  4. Reform direction 2. Regional health service commissioning Decentralize administration of service provision to 12 regional MoPH areas (service plan) • Improve efficiency of resources use by sharing resources • Improve capacity of service provision within the regions • Better referral system • Greater accountability by setting KPls Greater cooperation between purchaser and providers in planning, purchasing, and service provision

  5. Reform direction 3. Financing reform Expansion of health protection coverage by compulsory Contributory insurance • Migrant workers and dependents • Foreign visitors • Foreign residents Reform Traffic Accident Insurance to improve effectiveness And efficiency of the system Pharmaceutical cost control of CSMBS and reform payment system for better cost control Reform payment system to support MoPH service plan

  6. Reform direction 4. Harmonization of current health insurance schemes National Clearing House National Information center Harmonization of benefit package and payment system • Accident and Emergency services • Anti-Retro Viral Therapy • Cancer

  7. โครงสร้างการทำงานระบบสาธารณสุขประเทศไทยโครงสร้างการทำงานระบบสาธารณสุขประเทศไทย National Helth Authority Regulator Provider Purchaser Supplement/Agent • สปสช. • สวรส. • สช. • สพฉ.

  8. บทบาทของ Provider และ Regulator ในเขตสุขภาพ Provider  จัดระบบบริการสุขภาพ 4 มิติได้แก่ ส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู รวมทั้งงานคุ้มครองผู้บริโภค  บริหารจัดการให้เกิดผลลัพธ์ตามเป้าหมายของกระทรวง โดยมีแผนร่วม - แผนลงทุนร่วม - แผนเงินบำรุง และแผนการใช้งบประมาณ - แผนการจัดซื้อยา และวัสดุวิทยาศาสตร์ร่วม - ติดตาม ควบคุม กำกับงาน และพัฒนาปรับปรุง (M/E, Supervisor)

  9. บทบาทของ Provider และ Regulator ในเขตสุขภาพ Regulator  ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามเป้าหมายของ กสธ. - เขตบริการสุขภาพ - ท้องถิ่น - ภูมิภาค - เอกชน โดยติดตามดูผลลัพธ์ (output /outcome) ที่เกิดกับ ปชช. - process ที่สำคัญ - การบริหารจัดการ ด้านการเงิน การคลัง การพัสดุ - การบริหารบุคคล - ความโปร่งใส สุจริต

  10. กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต 1. พัฒนาโครงสร้างการดำเนินงานในรูปคณะกรรมการ ระดับเขต  จัดทำแนวทางการจัดตั้ง สนง.เขตสุขภาพ (องค์ประกอบด้านคนเช่น CIO CSO CFO และโครงสร้างงาน)  จัดตั้งคณะ กก.พัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับเขต (Service Provider Board) มอบนโยบายการบริหารแผนงาน และข้อมูลระดับเขต - พัฒนาระบบบริการสุขภาพ / - บริหารการเงินการคลัง - บริหารทรัพยากร ฯลฯ

  11. กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต 2. การบริหารร่วม - บริหารแผน : มียุทธศาสตร์และแผนการดำเนินงาน เพื่อบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดระดับเขต - บริหารทรัพยากรบุคคล : มีการวางแผนกำลังคน โดยวิเคราะห์อัตรากำลัง ความต้องการรายหน่วยบริการ จัดสรรอัตรากำลัง พัฒนาศักยภาพและสมรรถนะบุคลากร การจ้างพนักงาน กสธ. และการกำหนดค่าตอบแทน แรงจูงใจให้ปฏิบัติงานอย่างเป็นธรรมเหมาะสม

  12. กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต 2. การบริหารร่วม (ต่อ) - บริหารงบประมาณ : บริหารงาน UC ได้แก่ ค่าใช้จ่ายรายหัว และงาน PP ทั้ง และงบ Non UC ในการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ และคุ้มค่า ทั้งนี้ส่วนกลางกำหนดวงเงินให้เขตบริหารเอง - บริหารงบลงทุน : วางแผนการลงทุน และแผนการใช้ทรัพยากรร่วมกันในเขต - บริหารการจัดซื้อจัดจ้าง : มีแผนการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามเป้าหมายของ กสธ. โดยเฉพาะยา และวัสดุวิทยาศาสตร์ มีการดำเนินการร่วมกัน

  13. กลไกการขับเคลื่อนระบบบริการสุขภาพ ระดับเขต 3. การจัดบริการร่วม - มีแผนการจัดบริการที่บูรณาการครอบคลุม 4 มิติ เพื่อตอบสนองเป้าหมาย และตัวชี้วัดตามกลุ่มวัย - มีแผนการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการ 10 สาขา และยกระดับขีดความสามารถของสถานบริการในลักษณะเครือข่ายเชื่อมโยงทุกระดับ (Service Plan) ทั้งในเขต และนอกเขต - ดำเนินการติดตาม และบริหารผลการดำเนินงาน ตามระยะเวลา - ประเมินผลลัพธ์การดำเนินงาน และการจัดบริการร่วม

More Related