1 / 15

ปัญหาและผลกระทบของการทะเลาะวิวาท และความประพฤติที่ไม่เหมาะสม ของนักเรียน-นักศึกษาอาชีวศึกษา

ปัญหาและผลกระทบของการทะเลาะวิวาท และความประพฤติที่ไม่เหมาะสม ของนักเรียน-นักศึกษาอาชีวศึกษา. โดย อาจารย์เลอพงษ์ วัชรมัย. - รองผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ - กรรมการบริหารสมาคมวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเอกชนแห่ง ประเทศไทย

kuper
Download Presentation

ปัญหาและผลกระทบของการทะเลาะวิวาท และความประพฤติที่ไม่เหมาะสม ของนักเรียน-นักศึกษาอาชีวศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ปัญหาและผลกระทบของการทะเลาะวิวาทและความประพฤติที่ไม่เหมาะสมของนักเรียน-นักศึกษาอาชีวศึกษาปัญหาและผลกระทบของการทะเลาะวิวาทและความประพฤติที่ไม่เหมาะสมของนักเรียน-นักศึกษาอาชีวศึกษา

  2. โดย อาจารย์เลอพงษ์ วัชรมัย - รองผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ - กรรมการบริหารสมาคมวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเอกชนแห่ง ประเทศไทย - ผู้ช่วยอุปนายกสมาคมวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาฯ ฝ่ายกิจการนักศึกษา -กรรมการประสานการส่งเสริมและพัฒนาทักษะความสามารถของนักเรียน นักศึกษาอาชีวศึกษากระทรวงการพัฒนา สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ - ประธานกลุ่มโรงเรียนที่ 3 สวนหลวง ร.๙ - กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ตรวจรับรองมาตรฐานและคุณภาพสถานศึกษา อาชีวศึกษา ของ สมศ.

  3. วัยรุ่น คือ วัยระหว่าง 13 – 19 ปี เป็นความเปลี่ยนแปลงของวัย ระหว่าง วัยเด็ก กับ วัยผู้ใหญ่ ตามวุฒิภาวะในด้านต่าง ๆ ดังนี้ - ทางร่ายกาย - ทางจิตใจ - ทางอารมณ์ - ทางสังคม

  4. เงื่อนไขที่ทำให้เกิดการทะเลาะวิวาทอย่างต่อเนื่องคือ การเกิดตัวตนแห่งสถาบัน ได้แก่ - สถาบัน ครอบครัว - สถาบัน ชุมชน - สถาบัน การศึกษา - สถาบันกลุ่ม หรือ เครือข่าย

  5. การทะเลาะวิวาทของวัยรุ่น(อาชีวศึกษา)การทะเลาะวิวาทของวัยรุ่น(อาชีวศึกษา) สาเหตุจาก 1. ความคึกคนองตามวัย 2. มีภูมิต้านทานต่อการยั่วยุต่ำ 3. การไม่มีแบบอย่างที่ดีจาก พ่อ แม่ และ ผู้ใหญ่ในสังคม 4. การสร้างปลูกจิตสำนึกแบบผิดๆ ของรุ่นพี่ในสถานศึกษาจนเป็นอัตลักษณ์ที่ผิด เป็นค่านิยมที่ทำตาม

  6. ปัจจัยที่ส่งเสริมการเกิดทะเลาะวิวาทปัจจัยที่ส่งเสริมการเกิดทะเลาะวิวาท 1. การท้าทาย ด่า ทางเว็บไซต์ แย่งผู้ชาย ยั่วยุด้วยสัญญลักษณ์ 2. การขาดสติ ความยั่งคิด ไม่รู้ถูก รู้ผิด 3. การไม่ละอาย และเกรงกลัว ต่อการทำผิดทั้งด้านศิ่ลธรรม กฏหมาย 4. เคยเป็นศัตรู คู่ อริ 5. เคย ถูกทำร้ายกันมาก่อน 6. ต้องการอวดให้รุ่นน้องเห็น อยากเด่น 7. งานเทศกาล/คอนเสริต 8. ประเพณีและวัฒนธรรมของสถานศึกษา ที่ถือพิธีกรรมที่ผิดๆ 9. ความรู้สึก เรื่องการเสียศักดิ์ศรียอมกันไม่ได้

  7. ผลกระทบที่เกิดจากการประพฤติตนเสื่อมเสียผลกระทบที่เกิดจากการประพฤติตนเสื่อมเสีย - ผิดศีลธรรม จรรยาที่ดี เสียความรัก ความศรัธา - ผิดระเบียบ สถานศึกษา ขาดความเชื่อถือ - ทำร้ายสังคม - เสียเวลา / เสียโอกาส - เสียอนาคต - ทำร้ายสถาบันการศึกษาของตน

  8. จากกรณี นักเรียน 9 ขวบถูกลูกหลงจากการทะเลาะวิวาท และตายบนรถประจำทางแถวบางกะปิ (สวนดุสิตโพลได้สำรวจความคิดเห็นประชาชน) เหตุที่เกิดการทะเลาะวิวาทของนักเรียน นักศึกษา อาชีวศึกษา พบว่า......................

  9. สาเหตุ(จากการสำรวจพบว่า)สาเหตุ(จากการสำรวจพบว่า) ลำดับที่ 1 40.18% เกิดจากการปลูกฝังค่านิยมที่ผิดๆจากรุ่นพี่สู่รุ่น น้องคิดเป็นเรื่องของศักดิ์ศรีระหว่างสถาบัน ลำดับที่ 2 30.09%มาจากอารมณ์ชั่ววูบ / ใจร้อน / ขาดสติ / ความแค้นส่วนตัว / ไม่ชอบหน้ากัน / ไม่ถูกกัน ลำดับที่ 3 11.73% คิดว่าเป็นการกระทำที่เท่ ดูดี มาจากความเชื่อที่ผิด ลำดับที่ 4 10.68% กระทรวงศึกษาธิการ/ผู้บริหารสถานศึกษายังไม่ สามารถควบคุมดูแลเด็กเหล่านี้ได้อย่างทั่วถึง ลำดับที่ 5 7.32%เจ้าหน้าที่ตำรวจไม่เอาจริง /ไม่เข็มงวดกวดขันพอ

  10. แนวทางการแก้ไข(จากการสำรวจ)แนวทางการแก้ไข(จากการสำรวจ) อันดับ 1 ต้องปรับเปลี่ยนทัศนคติของนักศึกษาเหล่านี้ใหม่ ชี้ให้เห็นกับผลกระทบที่ตามมา 29.88% อันดับ 2 ต้องมีกฎหมายหรือบทลงโทษที่เด็ดขาด สำหรับกรณีนี้ 26.53% อันดับ 3 ผู้ปกครองต้องให้ความรัก เอาใจใส่ดูแลบุตรหลานของ ตนให้ดี/ไม่สร้างความเดือนร้อนให้แก่สังคม 16.90% อันดับ 4 กระทรวงศึกษาธิการต้องมีบทลงโทษต่อผู้เกี่ยวข้องใน เรื่องนี้อย่างจริงจัง และมีมาตรการป้องกันดูแล อย่างเข้มงวด 14.27% อันดับ 5 ผู้บริหารสถานศึกษา ครู อาจารย์ ต้องช่วยกันเฝ้าระวัง ดูแลนักศึกษาของตนให้ดี 12.42

  11. สิ่งที่ประชาชนอยากฝาก หรือเตือนสติเด็กอาชีวะ คือ อันดับ 1 อยากให้นึกถึงหัวอกของคนที่เป็นพ่อเป็นแม่ 58.70% อันดับ 2 อยากให้เด็กอาชีวะมองว่าทุกคนเป็นเพื่อนกัน วัย อายุ รุ่นราวคาวเดียวกัน 22.66% อันดับที่ 3 ให้นำเรื่องที่เกิดขึ้นไปทบทวนหรือใช้เป็นอุทาหรณ์ สอนใจ 10.21% อันดับที่ 4 ขอให้คิดถึงสถาบันที่กำลังศึกษา ให้มาก ไม่ทำความเดือด ร้อนให้กับสถาบัน 8.35%

  12. ปัญหาที่เป็นอุปสรรคในการแก้ไขปัญหาที่เป็นอุปสรรคในการแก้ไข - ผู้บริหารสถานศึกษาไม่ให้การสนับสนุนการแก้ไข อย่างจริงจัง - การประสานความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา หรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องยังล่าช้าและไม่จริงจัง - ความพร้อมในการปฏิบัติงานของสถานศึกษาด้านบุคลากรเครื่องมือ อุปกรณ์การทำงานยังไม่เพียงพอ - บุคคลที่เกี่ยวข้องขาดความร่วมมือในการปฏิบัติ - มาตรการในการแก้ไข ไม่สอดคล้องกับปัญหาที่เกิดขึ้นจริง

  13. สิ่งที่ทุกคนควรทราบ ขณะนี้กระทรวงศึกษาธิการ เอาโทษหนักกับสถานศึกษาที่ปล่อยปะละเลย นักศึกษามีการก่อเหตุทะเลาะวิวาท ถึงขั้นปิด สถานศึกษา / ถอนใบอนุญาติจัดตั้งโรงเรียนกรณีสถานศึกษาเอกชน

  14. สิ่งที่ต้องระวัง -กฎหมายเอาผิดขั้นสูงแก่ผู้ทำผิดและผู้ปกครองด้วย -อย่าทำลายอนาคตของตนและสถานศึกษา - สถานศึกษาที่มีนักศึกษาเกเร สังคมจะไม่ยอมรับ และหา งานทำยาก

  15. ขอให้ทุกคนรู้รัก สามัคคี ขอให้ทุกคนรู้รัก สามัคคี อดทน อดกลั้น เพียรพยายาม เพื่อสร้างอนาคต ให้สำเร็จ สมหวังในสิ่งที่ปรารถนา สวัสดี

More Related