90 likes | 290 Views
การเตรียมความพร้อมเพื่อขอรับรองให้ภาคตะวันออกเป็นเขตปลอดโรคปากและเท้าเปื่อย. ประวัติ รัตนภุมมะ ปศุสัตว์เขต ๒ โรงแรมเซ็นทารา ดวงตะวัน ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖. ความเป็นมา การเตรียมความพร้อมเพื่อขอรับรองให้ภาคตะวันออกเป็นเขตปลอดโรคปากและเท้าเปื่อย.
E N D
การเตรียมความพร้อมเพื่อขอรับรองให้ภาคตะวันออกเป็นเขตปลอดโรคปากและเท้าเปื่อยการเตรียมความพร้อมเพื่อขอรับรองให้ภาคตะวันออกเป็นเขตปลอดโรคปากและเท้าเปื่อย ประวัติ รัตนภุมมะ ปศุสัตว์เขต ๒ โรงแรมเซ็นทารา ดวงตะวัน ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖
ความเป็นมา การเตรียมความพร้อมเพื่อขอรับรองให้ภาคตะวันออกเป็นเขตปลอดโรคปากและเท้าเปื่อย -ประกาศให้ ๘ จังหวัดภาคตะวันออกเป็นเขตปลอดโรคปากละเท้าเปื่อยเมื่อปี ๒๕๔๐ -แถลงเริ่มเปิดตัวโครงการเมื่อปี ๒๕๕๐และอยู่ในช่วงเตรียมความพร้อม -แต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานระดับต่างๆเพื่อบริหารโครงการ -จัดทำแผนปฏิบัติการ ๔ ปี (๒๕๕๒-๒๕๕๖) เพื่อการได้รับรอง
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินโครงการเครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินโครงการ • คู่มือการจัดทำเขตปลอดโรคปากและเท้าประเภทฉีดวัคซีนของ O.I.E • หลักการระบาดวิทยาทางสัตวแพทย์ • พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. ๒๔๙๙ • ระเบียบ คำสั่งและหนังสือกรมปศุสัตว์ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกัน ควบคุมโรคระบาด
มิติของคณะทำงานและรูปแบบการปฏิบัติงานในระดับพื้นที่มิติของคณะทำงานและรูปแบบการปฏิบัติงานในระดับพื้นที่ • ด้านอำนวยการเพื่อการวางแผน ประสานงาน ตรวจ ติดตาม วัด วิเคราะห์ การปฏิบัติงาน • ด้านป้องกันโรคเพื่อกำกับระบบการเคลื่อนย้าย ความปลอดภัยทางชีวภาพของฟาร์ม/โรงฆ่าสัตว์/ตลาดนัดค้าสัตว์/สถานที่เก็บซากสัตว์ การฉีดวัคซีนป้องกันโรคสัตว์ล่วงหน้า • ด้านควบคุมโรคเพื่อกำกับการซ้อมแผนเตรียมความพร้อมเมื่อเกิดโรค การกักสัตว์ป่วย/สงสัย การประกาศเขตโรคระบาด/สงสัย การทำลายสัตว์ป่วย/สงสัย การจ่ายเงินชดเชย การระงับการเคลื่อนย้าย การทำ Ring vaccination
มิติของคณะทำงานและรูปแบบการปฏิบัติงานในระดับพื้นที่มิติของคณะทำงานและรูปแบบการปฏิบัติงานในระดับพื้นที่ • ด้านการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความเข้าใจกับประชาชน/ส่วนราชการทั่วไป สร้างเครือข่ายเพื่อร่วมปฏิบัติงาน/สนันสนุนการปฏิบัติงาน ในทุกๆด้าน • ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปี
เป้าหมายการปฏิบัติงานเป้าหมายการปฏิบัติงาน • ฉีดวัคซีนป้องกันโรคให้แก่สัตว์กีบคู่ ๑๐๐ % • ภูมิคุ้มกันระดับฝูงไม่ต่ำกว่า ๘๐ % • ไม่มีการลักลอบเคลื่อนย้ายสัตว์/ซากสัตว์ • การกักสัตว์/ซากสัตว์ปลายทางกระทำอย่างเคร่งครัด • พบสัตว์ป่วย/สงสัยดำเนินการตาขั้นตอนอย่างละเอียดและครบถ้วน • เก็บรักษาวัคซีน/เวชภัณฑ์อย่างถูกต้อง และจัดทำรายงานเพื่อการตรวจสอบ
ผลลัพทธ์ของการปฏิบัติงานจนถึงเดือนมิถุนายน ๒๕๕๕ • ไม่มีโรคปากและเปื่อยระบาดในระยะ ๒ ปีที่ผ่านมา • ไม่พบหลักฐานว่ามีการคงอยู่ของเชื้อไวรัสในสัตว์ในพื้นที่เป้าหมายมากกว่า ๑ ปี • อปส.จึงประกาศในที่ประชุม F.M.D Global Conferenceว่าไทยจะยื่นเอกสารเพื่อขอรับรองต่อ O.I.E.ให้ภาคตะวันออกของประเทศไทยเป็นเขตปลอดโรคปากและเท้าเปื่อยประเภทฉีดวัคซีน • ปลายเดือนสิงหาคม ๒๕๕๕ ประเทศไทยจึงยื่นเอกสารดังกล่าว
ความคืบหน้าภายหลังการยื่นเอกสารขอรับรองเขตปลอดโรคความคืบหน้าภายหลังการยื่นเอกสารขอรับรองเขตปลอดโรค • O.I.Eมีคำถามเพิ่มเติมอีก ๑๐ ข้อและ ๕ ข้อ ตามลำดับ • หลังตอบคำถามแล้วO.I.Eขอพบเพื่อชี้แจงว่าเหตุใดภาคตะวันออกของประเทศไทยจึงควรได้รับการรับรองเป็นเขตปลอดโรคปากและเท้าเปื่อย • คณะซึ่งประกอบด้วยหมอฝน หมอบอยและหมอตุ้ยเดินทางไปสำนักงานใหญ่ O.I.Eที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เพื่อไปชี้แจงเหตุผลดังกล่าว เมื่อวันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ • คำตอบที่ได้รับคือ ไม่ yes ไม่ no แต่จะส่งคณะมาตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติมในด้านต่างๆที่เกี่ยวข้อง ในเดือนมิถุนายน โดยให้เราเลือกวัน
การเตรียมความพร้อมเพื่อรอรับการตรวจจาก O.I.E • แต่งตั้งคณะทำงานไว้ตั้งแต่เดือนธันวาคม ๒๕๕๕ เพื่อตรวจสอบ แนะนำ เร่งรัดหน่วยงานในพื้นที่ที่เกี่ยวข้องทุกหน่วยงานเพื่อจัดทำบรรยายสรุป รวบรวมหลักฐาน ตอบคำถามและเตรียมสถานที่เยี่ยมชม • เป้าหมายคือทุกสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด บางสำนักงานปศุสัตว์อำเภอ ทุกด่านและศวพ.ภาคตะวันออก • ความคาดหวังเตรียมความพร้อมรอบแรกครบทุกหน่วยเสร็จภายในเดือนมีนาคมหรือสัปดาห์แรกของเดือนเมษายน ๒๕๕๖ หลังสงกรานต์เปิดโอกาสให้ซักถามขอคำแนะนำและปรับปรุงความพร้อมอีก ๑ สัปดาห์ หลังจากนั้นอีก ๑ สัปดาห์จะเรียนเชิญท่านอธิบดี/รองอธิบดี เข้าร่วม “การจำลองสถานการณ์การรับการตรวจจาก O.I.E ณ สถานที่จริง”